กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสะเตงนอก


“ โครงการลดละ เลิกบุหรีในชุมชนนัดโต๊ะโมง ”

ตำบลสะเตงนอก อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
นางอัสเน๊าะ สามะ

ชื่อโครงการ โครงการลดละ เลิกบุหรีในชุมชนนัดโต๊ะโมง

ที่อยู่ ตำบลสะเตงนอก อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 61-L4143-2-03 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 2 เมษายน 2561 ถึง 31 สิงหาคม 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการลดละ เลิกบุหรีในชุมชนนัดโต๊ะโมง จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลสะเตงนอก อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสะเตงนอก ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการลดละ เลิกบุหรีในชุมชนนัดโต๊ะโมง



บทคัดย่อ

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อสร้างชุมชนต้นแบบ หมู่บ้านปลอดบุหรี่ (2) 2.เพื่อสร้างความตระหนักถึงพิษภัยของบุหรี่ (3) 3.เพื่อช่วยให้ผู้สูบบุหรี่และป้องกันนักสูบหน้าใหม่ในพื้นที่ (4) 4.เพื่อสร้างความร่วมมือในชุมชนและภาคีเครือข่ายให้เข้มแข็ง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1.จัดอบรมให้ความรู้เรื่องการลด ละ เลิกสูบบุหรี่ในชุมชน (2) 2.จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในประสบการณ์การเลิกบุหรี่ในชุมชน (3) 3.เลือกบุคคลต้นแบบในชุมชน เพื่อเป็นแกนนำหลักในการขับเคลื่อนชุมชนให้เป็นชุมชนต้นแบบหมู่บ้านปลอดบุหรี่

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การบริโภคยาสูบหรือการสูบบุหรี่ เป็นสาเหตุสำคัญของปัญหาทางสุขภาพที่ร้ายแรง ล้วนแต่เป็นอันตรายต่อสุภาพทั้งต่อผู้สูบเองและผู้ที่ได้รับควันบุหรี่มือสอง โดยเฉพาะอย่างยิ่ง หากผู้ที่ได้รับควันบุหรี่เป็นเด็ก ก็จะยิ่งเป็นอันตรายมากขึ้น เนื่องจากเด็กยังมีภูมิต้านทางโรคค่อนข้างต่ำ และยังไม่สามารถป้องกันตนเองจากการได้รับควันบุหรี่จากผู้ใหญ่ได้ จากการสำรวจข้อมูลการสูบบุหรี่ของประชาชนในเขตชุมชนบ้านนัดโต๊ะโมงของประชาชนอายุ 15 ปีขึ้นไป พบว่ามีผู้สูบบุหรี่ค่อยข้างมากและมีจำนวนเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ดังนั้นแนวคิดการพัฒนาชุมชนต้นแบบจึงเริ่มจากการมองเห็นปัญหาและผลกระทบที่เกิดจากการสูบบุหรี่ที่มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นทำให้ภาคีเครือข่ายในชุมชนโดยเฉพาะแกนนำที่สำคัญ คือ ผู้ใหญ่บ้านนัดโต๊ะโมงและ ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขบ้านนัดโต๊ะโมง ตระหนักถึงความจำเป็นเร่งด่วนที่จะต้องหาวิธีแก้ไขปัญหาจึงทำให้เกิดแรงขับเคลื่อนในระดับชุมชนที่จะพัฒนาเป็นชุมชนต้นแบบ“หมู่บ้านปลอดบุหรี่”โดยชุมชนเป็นฐานอย่างแท้จริง จึขอจัดทำโครงการ ลด ละ เลิก สูบบุหรี่ในชุมชนนัดโต๊ะโมง เพื่อสร้างชุมชนต้นแบบหมู่บ้านปลอดบุหรี่ สร้างความตระหนักถึงพิษภัยของบุหรี่ ช่วยให้ผู้สูบหน้าใหม่ในพื้นที่ และเพื่อสร้างความร่วมมือในชุมชนและภาคีเครือข่ายให้เข้มแข็งต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อสร้างชุมชนต้นแบบ หมู่บ้านปลอดบุหรี่
  2. 2.เพื่อสร้างความตระหนักถึงพิษภัยของบุหรี่
  3. 3.เพื่อช่วยให้ผู้สูบบุหรี่และป้องกันนักสูบหน้าใหม่ในพื้นที่
  4. 4.เพื่อสร้างความร่วมมือในชุมชนและภาคีเครือข่ายให้เข้มแข็ง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. 1.จัดอบรมให้ความรู้เรื่องการลด ละ เลิกสูบบุหรี่ในชุมชน
  2. 2.จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในประสบการณ์การเลิกบุหรี่ในชุมชน
  3. 3.เลือกบุคคลต้นแบบในชุมชน เพื่อเป็นแกนนำหลักในการขับเคลื่อนชุมชนให้เป็นชุมชนต้นแบบหมู่บ้านปลอดบุหรี่

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.มีชุมชนต้นแบบหมู่บ้านปลอดบุหรี่ในชุมชนบ้านนัดโต๊ะโมง 2.ประชาชนในชุมชนนัดโต๊ะโมงมีความตระหนักถึงพิษภัยของบุหรี่ในชุมชนบ้านนัดโต๊ะโมง 3.เกิดความร่วมมือในชุมชนและภาคีเครือข่ายอย่างเข้มแข็ง


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. 2.จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในประสบการณ์การเลิกบุหรี่ในชุมชน

วันที่ 9 กรกฎาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

.

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

.

 

0 0

2. 1.จัดอบรมให้ความรู้เรื่องการลด ละ เลิกสูบบุหรี่ในชุมชน

วันที่ 24 ธันวาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

.

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

.

 

75 0

3. 3.เลือกบุคคลต้นแบบในชุมชน เพื่อเป็นแกนนำหลักในการขับเคลื่อนชุมชนให้เป็นชุมชนต้นแบบหมู่บ้านปลอดบุหรี่

วันที่ 24 ธันวาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

.

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

.

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

จากการดพเนินโครงการลด ละ เลิก สูบบุหรี่ ชุมชนนัดโต๊ะโมง เป้าหมายทั้งหมด จำนวน 60 คน โดยได้จัดกิจกรรม อบรมให้ความรู้เรื่องพิษภัยของบุหรีให้แก่เยาวชนและผู้ปกครอง  บรรยายโดยให้หลักของศาสนาในการบำรุงจิตใจ มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างกัน ได้รับความร่วมมือเป็นอย่างดีระหว่างภาคีเครือข่าย ผู้นำชุมชน และประชาชนเกิดความตระหนักปผ้นอย่างมาก เพื่อที่จะให้เป็นชุมชนต้นแบบที่ปลอดบุหรี่ สร้างความสบายใจแก้ผู้ปกครอง ปลูกฝังจิตสำนึกที่ดีของเยาวชนรุ่นใหม่และเป็นชุมชนที่น่าอยู่ พบว่าคนในชุมชนมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องพิษภัยของบุหรี่และตระหนักถึงการสร้างครอบครัวเป็นสุข ต้องการมีสังคมที่ดี ช่วยกันคิด ร่วมเสนอเนะ เรียนรู้แลกเปลี่ยนความคิดเห็นระหว่างกัน ทำให้สะท้อนถึงปัญหาและหาแนวทางแก้ไขในชุมชนได้เป็นอย่างดี นอกจากนี้ชุมชนยังส่วนร่วมที่ดีในการทำกิจกรรม แกนนำชุมชนมีความแน่นให้ความร่วมมือเป็นอย่างดี

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1.เพื่อสร้างชุมชนต้นแบบ หมู่บ้านปลอดบุหรี่
ตัวชี้วัด :
0.00

 

2 2.เพื่อสร้างความตระหนักถึงพิษภัยของบุหรี่
ตัวชี้วัด :
0.00

 

3 3.เพื่อช่วยให้ผู้สูบบุหรี่และป้องกันนักสูบหน้าใหม่ในพื้นที่
ตัวชี้วัด :
0.00

 

4 4.เพื่อสร้างความร่วมมือในชุมชนและภาคีเครือข่ายให้เข้มแข็ง
ตัวชี้วัด :
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อสร้างชุมชนต้นแบบ หมู่บ้านปลอดบุหรี่ (2) 2.เพื่อสร้างความตระหนักถึงพิษภัยของบุหรี่ (3) 3.เพื่อช่วยให้ผู้สูบบุหรี่และป้องกันนักสูบหน้าใหม่ในพื้นที่ (4) 4.เพื่อสร้างความร่วมมือในชุมชนและภาคีเครือข่ายให้เข้มแข็ง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1.จัดอบรมให้ความรู้เรื่องการลด ละ เลิกสูบบุหรี่ในชุมชน (2) 2.จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในประสบการณ์การเลิกบุหรี่ในชุมชน (3) 3.เลือกบุคคลต้นแบบในชุมชน เพื่อเป็นแกนนำหลักในการขับเคลื่อนชุมชนให้เป็นชุมชนต้นแบบหมู่บ้านปลอดบุหรี่

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการลดละ เลิกบุหรีในชุมชนนัดโต๊ะโมง จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 61-L4143-2-03

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางอัสเน๊าะ สามะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด