กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตะปอเยาะ


“ เก็บให้เกลี้ยง กำจัดแหล่งเพาะพันธ์ุ (ยุง) ”

ตำบลตะปอเยาะ อำเภอยี่งอ จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นางสาวซูไฮดา สานิตา

ชื่อโครงการ เก็บให้เกลี้ยง กำจัดแหล่งเพาะพันธ์ุ (ยุง)

ที่อยู่ ตำบลตะปอเยาะ อำเภอยี่งอ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 67-L2497-2-01 เลขที่ข้อตกลง 10/2567

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 10 พฤษภาคม 2567 ถึง 10 พฤษภาคม 2567


กิตติกรรมประกาศ

"เก็บให้เกลี้ยง กำจัดแหล่งเพาะพันธ์ุ (ยุง) จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลตะปอเยาะ อำเภอยี่งอ จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตะปอเยาะ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
เก็บให้เกลี้ยง กำจัดแหล่งเพาะพันธ์ุ (ยุง)



บทคัดย่อ

โครงการ " เก็บให้เกลี้ยง กำจัดแหล่งเพาะพันธ์ุ (ยุง) " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลตะปอเยาะ อำเภอยี่งอ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 67-L2497-2-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 10 พฤษภาคม 2567 - 10 พฤษภาคม 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 18,325.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตะปอเยาะ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

หากจะพูดถึงสัตว์ที่เป็นภัยและก่อให้เกิดความรำคาญต่อมนุษย์นั้น คงจะหนีไม่พ้น “ยุง” อย่างแน่นอน ยุงเป็นสัตว์ที่มีอยู่บนโลกเป็นจำนวนมาก ซึ่งมีมากกว่าสามพันชนิด อีกทั้งยุงตัวเมียยังสามารถวางไข่ได้มากถึง 50-150 ฟองต่อครั้ง และสามารถออกไข่ได้ตลอดชีวิตของมัน จึงไม่แปลกที่เราจะพบเจอยุงได้อยู่ทุกเมื่อเชื่อวัน และพบเจอได้แทบจะทุกสถานที่เลยทีเดียว สำหรับในประเทศไทย เราจะสามารถพบเจอยุงที่เข้ามากัดกินเลือดของเราเป็นอาหาร และเป็นพาหะนำโรคหลักๆ ได้อยู่สี่สายพันธุ์ ได้แก่ ยุงก้นปล่อง ยุงลาย ยุงรำคาญ และยุงเสือหรือยุงลายเสือ โดยยุงแต่ละสายพันธุ์มีความแตกต่างกันดังนี้ 1.ยุงก้นปล่อง คือยุงที่เป็นพาหะนำเชื้อไข้มาลาเรีย มีลำตัวเป็นสีน้ำตาล ปีกมีเกล็ดสี พบมากในพื้นที่ป่า มักออกหากินตั้งแต่เวลาหลังหกโมงเย็นเป็นต้นไป โดยยุงก้นปล่องแบ่งออกเป็นชนิดที่เป็นพาหะหลัก ได้แก่ ชนิดไดรัส ชนิดมินิมัส ชนิดแมคคูลาตัส และชนิดที่เป็นพาหะรอง ได้แก่ ชนิดซันไดคัส ชนิดอโคไนตัสและชนิดซูโดวิวโมไร 2.ยุงลาย เป็นยุงที่พบได้บ่อยในบ้านเรือนทั่วไป เป็นที่ทราบกันดีว่าเป็นพาหะนำโรคไข้เลือดออก รวมไปถึงไข้ซิกา มีลำตัว ส่วนหัว และส่วนนอกเป็นเกล็ดสีดำสลับขาว ปากมีลักษณะยาว มักออกหากินตอนกลางวัน ชอบวางไข่บนน้ำนิ่ง และตามแหล่งที่มีน้ำขังต่างๆ โดยยุงลายแบ่งออกเป็น 2 ชนิด ได้แก่ ยุงลายบ้าน และยุงลายสวน 3.ยุงรำคาญ เป็นพาหะของโรคไข้สมองอักเสบ และโรคเท้าช้าง มีลำตัวเป็นสีน้ำตาล ปีกใส มักอาศัยและเพาะพันธุ์ตามแหล่งน้ำสกปรก หรือแหล่งน้ำที่เน่าเสียต่างๆ ยุงรำคาญจะวางไข่บนผิวน้ำในลักษณะติดกันเป็นแพ และชอบกัดสัตว์ที่อยู่ตามทุ่งนาอย่าง วัว ควาย มากกว่ากัดคน 4.ยุงเสือ หรือยุงลายเสือ เป็นพาหะนำโรคเท้าช้าง มีลักษณะที่แปลกตาและแตกต่างจากยุงชนิดอื่นๆ คือบนลำตัวจะมีลวดลายสีเข้ม ดูสวยงาม บางชนิดมีลวดคล้ายลายเสือ ปีกมีเกล็ดหยาบ มักเพาะพันธุ์ตามแหล่งน้ำที่มีวัชพืชน้ำขึ้น เช่น หนอง บึง และวางไข่ใต้ผิวน้ำติดตามวัชพืชน้ำต่างๆ มักออกหากินในเวลากลางคืน กัดและกินทั้งเลือดของคนและสัตว์ แต่ในปัจจุบันโรคที่มียุงเป็นพาหะและมีผู้ป่วยมากคือโรคไข้เลือดออกซึ่งเป็นปัญหาของสาธารณสุขของประเทศไทย มักระบาดในช่วงหน้าฝนโดยมีพาหะของโรคคือยุงลาย ส่วนใหญ่มักเป็นในเด็กวัยเรียนช่วงอายุ 10 - 14 ปี บางรายอาการรุนแรงจนทำให้เสียชีวิตได้ แต่ปัจจุบันยังพบผู้ป่วยไข้เลือดออกในผู้ใหญ่และมีการเกิดโรคตลอดทั้งปีอีกด้วย การดำเนินงานควบคุมป้องกันโรคเกี่ยวกับยุงประสบผลสำเร็จและเกิดประสิทธิภาพนั้นจำเป็นต้องระดมความร่วมมือจากทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องในการกำจัดลูกน้ำยุงลายที่เป็นพาหะนำโรคและรณรงค์ให้ชุมชนตระหนักถึงความสำคัญของปัญหาโรค และร่วมมือกันเฝ้าระวังป้องกันการแพร่ระบาดของโรคนี้ ดังนั้นโรงเรียนบ้านตะโละมีญอจึงเห็นความสำคัญการป้องกันโรคต่างๆ ปัญหาและสถานการณ์ที่เกิดขึ้นจึงได้จัดทำโครงการเก็บให้เกลี้ยง กำจัดแหล่งเพาะพันะธุ์ ยุง ประจำปีงบประมาณ 2567 ขึ้นเพื่อป้องกันการระบาดของโรคต่างๆจึงต้องมีการกระตุ้นให้ชุมชน โรงเรียนได้ทราบและเล็งเห็นความสำคัญของการป้องกันและควบคุมโรคด้วยการทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงและกำจัดลูกน้ำยุงลายเพื่อเป็นการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคในชุมชน เพื่อให้นักเรียนโรงเรียนบ้านตะโละมีญอห่างไกลจากโรค มีสุขพลานามัยที่สมบูรณ์แข็งแรง

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

 

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมให้ความรู้เกี่ยงกับยุงชนิดต่างๆ และวิธีการกำจัดเพาะพันธุ์ ยุง ชนิดต่างๆ (ปฏิบัติ)

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 100
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.นักเรียน มีความรู้ ความเข้าใจเรื่องโรคต่างๆที่มียุงเป็นพาหะ
-โรคไข้เลือดออก
-โรคเท้าช้าง
-โรคชิคุนกุนยา
-โรคมาลาเรีย
2.นักเรียนรู้วิธีการป้องกันโรค
3.นักเรียนรู้วิธีการกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุง


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 100
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 100
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้เกี่ยงกับยุงชนิดต่างๆ และวิธีการกำจัดเพาะพันธุ์ ยุง ชนิดต่างๆ (ปฏิบัติ)

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


เก็บให้เกลี้ยง กำจัดแหล่งเพาะพันธ์ุ (ยุง) จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 67-L2497-2-01

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวซูไฮดา สานิตา )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด