กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลชุมพล


“ โครงการคัดกรองสารเคมีตกค้างในเลือด ”

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านลำกะ ตำบลชุมพล อำเภอศรีนครินทร์ จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นางนัยวนา สงเล็ก

ชื่อโครงการ โครงการคัดกรองสารเคมีตกค้างในเลือด

ที่อยู่ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านลำกะ ตำบลชุมพล อำเภอศรีนครินทร์ จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ L3362-2567-1002 เลขที่ข้อตกลง 10/2567

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 15 มกราคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการคัดกรองสารเคมีตกค้างในเลือด จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านลำกะ ตำบลชุมพล อำเภอศรีนครินทร์ จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลชุมพล ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการคัดกรองสารเคมีตกค้างในเลือด



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการคัดกรองสารเคมีตกค้างในเลือด " ดำเนินการในพื้นที่ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านลำกะ ตำบลชุมพล อำเภอศรีนครินทร์ จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ L3362-2567-1002 ระยะเวลาการดำเนินงาน 15 มกราคม 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 29,900.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลชุมพล เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

สถานการณ์โรคและภัยสุขภาพจากสารเคมีในปัจจุบัน สะท้อนให้เห็นว่าแนวโน้มการนำเข้าสารเคมีกำจัดศัตรูพืชสูงขึ้น ส่งผลให้อัตราป่วยของโรคจากสารเคมีกำจัดศัตรูพืชเพิ่งสูงขึ้นเช่นกัน กลุ่มเกษตรกรเป็นกลุ่มแรงงานที่สำคัญของประเทศ และยังคงมีปัญหาการเจ็บป่วยจากพิษสารเคมีกำจัดศัตรูพืช และสารกำจัดแมลง ซึ่งอันตรายจากสารเคมีกำจัดศัตรูพืชดังกล่าวทำให้เกิดอันตรายต่อสุขภาพทั้งเฉียบพลันและเรื้อรัง อาการแสดงเฉียบพลันมีตั้งแต่ระดับเล็กน้อยจนรุนแรงถึงแก่ชีวิตขึ้นอยู่กับระดับความเข้มข้น ความเป็นพิษและปริมาณที่ได้รับ ส่วนอาการเรื้อรังสารเคมีกำจัดศัตรูพืชจะสะสมในระบบต่างๆ ของร่างกายทำให้เกิดความผิดปกติในร่างกาย สารเคมีที่เข้าไปสะสมจะไปทำลายอวัยวะภายในร่างกาย เช่น ตับ ไต ปอด สมอง ผิวหนัง ระบบประสาท ระบบสืบพันธุ์ และตา ซึ่งขึ้นอยู่กับว่าจะได้รับสารเคมีเข้าสู่ร่างกายทางใด และปริมาณมากน้อยเพียงใด ส่วนใหญ่แล้วการที่อวัยวะภายในร่างกายได้สะสมสารเคมีไว้จนจนถึงขีดที่ร่างกายไม่อาจทนได้ จนแสดงอาการต่างๆขึ้นมา เช่น โรคมะเร็ง โรคต่อมไร้ท่อ โรคเลือด และระบบภูมิคุ้มกัน เป็นต้น สารเคมีกำจัดศัตรูพืชสามารถเข้าสู่ร่างกายได้หลายทาง โดยการสัมผัสทางผิวหนัง การสูดหายใจเอาละอองสารเคมีที่ฟุ้งกระจายในอากาศ และการรับประทานน้ำและอาหารที่มีสารเคมีปนเปื้อน ซึ่งพฤติกรรมการใช้สารเคมีที่ไม่ปลอดภัยนั้น ทำให้เกษตรกรผู้อาศัยในชุมชนและผู้บริโภคมีความเสี่ยงจากการได้รับอันตรายจากสารเคมีกำจัดศัตรูพืชเพิ่มขึ้น ในส่วนของการตรวจวิเคราะห์หาสารพวกออร์กาโนฟอสเฟตหรือคาร์บาเมท จากอวัยวะต่างๆ หรือจากเลือดมักจะได้ผลไม่ดี เนื่องจากสารพิษเหล่านั้นจะเกิดการเปลี่ยนแปลงในร่างกายอย่างรวดเร็ว โดยเกิดปฏิกิริยาทางเคมีหลายอย่าง จึงนิยมใช้วิธีตรวจหาระดับของเอนไซม์โคลีนเอสเตอเรส (Cholinesterase Enzyme) ในเลือดและอวัยวะต่างๆ เป็นการยืนยันการเป็นพิษแทน เพราะสารเคมีทั้งสองกลุ่มนี้มีความสัมพันธ์เกี่ยวโยงกับเอนไซม์โคลีนเอสเตอเรส (Cholinesterase Enzyme) ซึ่งสามารถตรวจหาเอนไซม์โคลีนเอสเตอเรส (Cholinesterase Enzyme) โดยใช้กระดาษทดสอบพิเศษขององค์การเภสัชกรรม ประชากรส่วนใหญ่ประกอบอาชีพในภาคเกษตรกรรม โดยมีพื้นที่ที่ใช้ในการเกษตรมากถึงร้อยละ 80 ของพื้นที่ทั้งหมด ผลกระทบจากการใช้สารเคมีในการควบคุมและกำจัดศัตรูพืช จึงกระจายและขยายเป็นวงกว้าง ดังนั้นโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านในปง จึงเล็งเห็นความสำคัญของสุขภาพเกษตรกรในพื้นที่ จึงได้จัดทำโครงการตรวจคัดกรองสารเคมีในเลือดเกษตรกรและกลุ่มเสี่ยง ประจำปี 2567 ขึ้นเพื่อให้ประชาชนและเกษตรกรกลุ่มเสี่ยงในบ้านพื้นที่ ได้รับการตรวจสุขภาพและเจาะเลือดเพื่อดูว่ามีปริมาณสารเคมีตกค้างในกระแสเลือดอยู่ในระดับใดเพื่อทำการเฝ้าระวังต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ประชาชนได้รับการตรวจคัดกรองหาระดับสารเคมีตกค้างในเลือด
  2. เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงได้รับความรู้และติดตามเฝาระวังภาวะสุขภาพ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ประชุมคณะทำงาน
  2. รับสมัครประชาชนวัยทำงานเข้าร่วมโครงการตรวจคัดกรองสารเคมีตกค้าง และอบรมใ่ห้ความรู้กลุ่มเป้าหมาย
  3. ติดตามเฝ้าระวังตรวจซ้ำในกลุ่มที่ตรวจพบ เสี่ยงและไม่ปลอดภัย

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 140
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 100
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ผู้้เข้าร่วมโครงการมีความรู้และเข้าใจอันตรายจากการสารเคมีกำจัดศัตรูพืช รวมไปถึงสามารถป้องกันตัวเองได้ หากมีการสัมผัสหรือใกล้ชิดกับสารเคมีกำจัดศัตรูพืช 2.ผู้เข้าร่วมโครงการได้รู้ผลว่าระดับสารเคมีในเลือดของตนเองว่าอยู่ในระดับใดเฝ้าระวังตรวจซ้ำในกลุ่มที่ตรวจพบ เสี่ยงและไม่ปลอดภัย หลังจากติดตาม กลับมา ปกติ และ ปลอดภัย


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ประชุมคณะทำงาน

วันที่ 17 มกราคม 2567 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ขั้้นเตรียมการ
1.จัดทำโครงการเพื่อขออนุมัติ
2. ประชุมชี้แจงผู้มีส่วนร่วมเกี่ยวข้องในพื้นที่เพื่อรับทราบนโยบายวัตถุประสงค์และวางแผนการดำเนินโครงการ
3. ประสานกับพื้นที่เพื่อเตรียมการและจัดทำแผนกำหนดวันปฏิบัติงาน
4. ประชาสัมพันธ์โครงการเพื่อเตรียมกลุ่มเป้าหมาย และนัด วัน เวลา และสถานที่ในการจัดกิจกรรม
5. จัดเตรียมเอกสารและอุปกรณ์ที่ใช้ในการดำเนินโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีการเตรียมแผนการดำเนินงานโครงการ

 

0 0

2. ติดตามเฝ้าระวังตรวจซ้ำในกลุ่มที่ตรวจพบ เสี่ยงและไม่ปลอดภัย

วันที่ 17 มกราคม 2567 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ขั้นประเมินผล
1.ติดตามเฝ้าระวังตรวจซ้ำในกลุ่มที่ตรวจพบ เสี่ยงและไม่ปลอดภัย จำนวน 100 คน
โดยมีค่าใช้จ่ายดังนี้
- ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มสำหรับผู้เข้าร่วมอบรม จำนวน 100 คนๆละ 1 มื้อๆละ 25 บาท เป็นเงิน 2,500 บาท
รวม 2,500 บาท
2. แจ้งผลให้ผู้เข้าร่วมโครงการได้ทราบผลการตรวจว่าอยู่ในระดับใด ตามวัน และเวลาที่นัดหมาย
3. รายงานผลการดำเนินงานปรับปรุง พัฒนาจากผลการดำเนินงาน เพื่อใช้ในการจัดทำแผนงาน / โครงการต่อไป

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

กลุ่มเสี่ยงและกลุ่มไม่ปลอดภัย ได้รับการติดตามเฝ้าระวัง และตรวจซ้ำ

 

100 0

3. รับสมัครประชาชนวัยทำงานเข้าร่วมโครงการตรวจคัดกรองสารเคมีตกค้าง และอบรมใ่ห้ความรู้กลุ่มเป้าหมาย

วันที่ 17 มกราคม 2567 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ขั้นดำเนินการ
1. กิจกรรมลงทะเบียน และรับแบบสอบถามคัดกรองความเสี่ยงก่อนเข้ารับการเจาะเลือด
2. เตรียมเครื่องมือและวัสดุอุปกรณ์ในการตรวจคัดกรองการตรวจเลือด โดยใช้กระดาษทดสอบเอนไซม์โคลีนเอสเตอเรส และชุดตรวจคัดกรองความเสี่ยงจากการสัมผัสสารเคมีกำจัดศัตรูพืช
3. ดำเนินการอบรมให้ความรู้วัยทำงานที่สมัครเข้าร่วมโครงการและตรวจคัดกรองสารเคมีตกค้าง จำนวน 140 คนและตรวจหาสารเคมีกำจัดศัตรูพืชตกค้างในกลุ่มเกษตรกร/ผู้บริโภค ตามวัน และเวลาที่นัดหมาย
โดยมีค่าใช้จ่ายดังนี้
- ค่าอาหารกลางวัน สำหรับผู้เข้าร่วมอบรม จำนวน 140 คนๆละ 1 มื้อๆละ 80 บาท เป็นเงิน 11,200 บาท
- ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มสำหรับผู้เข้าร่วมอบรม จำนวน 140 คนๆละ 2 มื้อๆละ 25 บาท เป็นเงิน 7,000 บาท
- ค่าสมนาคุณวิทยากรจำนวน 5 ชั่วโมงๆละ 600 บาท เป็นเงิน 3,000 บาท
- ค่าชุดตรวจสารเคมีตกค้างในเลือด ชุดละ 1,700 บาท 2 ชุด เป็นเงิน 3,400 บาท
- ค่าจ้างทำสมุดการป้องกันสารเคมีตกค้าและแจ้งผลตรวจ จำนวน 140 เล่มๆละ 20 บาท เป็นเงิน 2,800บาท
รวม 27,400 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ประชาชนวัยทำงานเข้าร่วมโครงการและได้รับการตรวจคัดกรองสารเคมีตกค้าง จำนวน 140 คน/ประชาชนวัยทำงานมีสุขภาพดี

 

140 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ประชาชนได้รับการตรวจคัดกรองหาระดับสารเคมีตกค้างในเลือด
ตัวชี้วัด :
5.00 10.00

 

2 เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงได้รับความรู้และติดตามเฝาระวังภาวะสุขภาพ
ตัวชี้วัด :
40.00 80.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 240
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 140
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 0
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 100
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ประชาชนได้รับการตรวจคัดกรองหาระดับสารเคมีตกค้างในเลือด (2) เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงได้รับความรู้และติดตามเฝาระวังภาวะสุขภาพ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมคณะทำงาน (2) รับสมัครประชาชนวัยทำงานเข้าร่วมโครงการตรวจคัดกรองสารเคมีตกค้าง และอบรมใ่ห้ความรู้กลุ่มเป้าหมาย (3) ติดตามเฝ้าระวังตรวจซ้ำในกลุ่มที่ตรวจพบ เสี่ยงและไม่ปลอดภัย

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการคัดกรองสารเคมีตกค้างในเลือด จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ L3362-2567-1002

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางนัยวนา สงเล็ก )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด