กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการคุ้มครองผู้บริโภค และอาหารปลอดภัยในชุมชน ปี 2567 รพ.สต.บ้านลำพด
รหัสโครงการ 67-L5196-02-09
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ กลุ่มหรือองค์กรประชาชน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน ม.7บ้านโต้นนท์
วันที่อนุมัติ 22 กุมภาพันธ์ 2567
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 มีนาคม 2567 - 30 กันยายน 2567
กำหนดวันส่งรายงาน 30 กันยายน 2567
งบประมาณ 30,250.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางสาวหัทยา พาหุพันโต
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลคลองทราย อำเภอนาทวี จังหวัดสงขลา
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานอาหารและโภชนาการ , แผนงานเด็ก เยาวชน ครอบครัว , แผนอนามัยและสิ่งแวดล้อม
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 58 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน :

กลุ่มวัยทำงาน 85 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มวัยทำงาน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละร้านชำยังขาดความรู้ความเข้าใจของการใช้ยา เครื่องสำอาง ผลิตภัณฑ์สุขภาพ บริการสุขภาพและอาหารปลอดภัย
100.00
2 ร้านอาหาร/แผงลอยยังขาดความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับอาหารปลอดภัย
100.00
3 สร้างเครือข่ายคุ้มครองผู้บริโภคในชุมชน และเครือข่าย อย.น้อย ในโรงเรียน
100.00

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

ตามที่ งานคุ้มครองผู้บริโภคด้านสาธารณสุข เป็นงานที่เกี่ยวข้องกับการควบคุม กำกับ ดูแลและบังคับใช้กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับผลิตภัณฑ์สุขภาพและบริการสุขภาพ เช่น อาหาร ยา เครื่องสำอาง ร้านขายของชำในหมู่บ้าน เป็นต้น ซึ่งในส่วนของผลิตภัณฑ์สุขภาพและบริการสุขภาพเหล่านี้มีผู้เกี่ยวข้องหลายส่วน เช่น ผู้ผลิต ผู้จำหน่าย ตลอดจนผู้บริโภค โดยเฉพาะผู้บริโภคจะเป็นผู้ได้รับผลกระทบโดยตรงจากการใช้ผลิตภัณฑ์เหล่านั้น หากเป็นผลิตภัณฑ์ที่ไม่มีคุณภาพ ลอกเลียนแบบ เจือปนสารอันตรายลงไป หรือหากบริการสุขภาพนั้นไม่ได้มาตรฐานจะทำให้ผู้บริโภคได้รับผลกระทบต่อสุขภาพจนอาจทำให้เสียชีวิตได้ ร้านขายของชำในหมู่บ้าน เป็นร้านที่ผู้บริโภคจับจ่ายใช้สอยและซื้อสินค้ามากที่สุด เนื่องจากเป็นร้านที่อยู่ในหมู่บ้าน สะดวกในการซื้อสินค้า และเป็นร้านที่จำหน่ายสินค้าหลากหลายชนิด เช่น ยา เครื่องสำอาง อาหารสำเร็จรูป เครื่องปรุงรส อาหารแปรรูป บุหรี่และแอลกอฮอล์ดังนั้น เพื่อเป็นการคุ้มครองผู้บริโภค ตรวจสอบและเฝ้าระวังความปลอดภัยของผลิตภัณฑ์สุขภาพและบริการสุขภาพ ตลอดจนเพื่อพัฒนาศักยภาพผู้ประกอบการร้านขายของชำในหมู่บ้าน รวมถึงเฝ้าระวังและประกันคุณภาพของอาหาร เพื่อเป็นการพัฒนาและสร้างความรู้แก่ผู้ประกอบการและผู้บริโภคให้ตระหนักถึงความสำคัญของการเลือกซื้ออาหารที่เหมาะสมอันจะส่งผลให้ประชาชนได้บริโภคอาหารที่สะอาด ปลอดภัยต่อไป รวมถึง นโยบายเกี่ยวกับความปลอดภัยด้านอาหาร(FoodSafety)โดยมีเป้าหมายให้อาหารที่ผลิตและบริโภคในประเทศไทยนั้นมีความปลอดภัยในระดับสากลและให้เป็นครัวของโลกจึงมอบหมายให้กระทรวงสาธารณสุขเป็นหน่วยงานหลักในการผสานยุทธศาสตร์ด้านความปลอดภัยด้านอาหารของประเทศและมีหน่วยงานที่เกี่ยวข้องร่วมรับผิดชอบโดยบูรณการความร่วมมือระหว่างหน่วยงานทั้งภาครัฐและเอกชนประกอบกับสถานการณ์ปัจจุบันนี้มีความเปลี่ยนแปลงทางสังคมและเศรษฐกิจโดยทั่วไปของประเทศได้มีการพัฒนาจากสังคมเกษตรเป็นสังคมอุตสาหกรรมดังนั้นจึงเป็นส่วนที่สำคัญอย่างมากที่จะให้ผู้บริโภคได้เลือกบริโภคอาหารที่ปลอดภัยและผู้จำหน่ายจะได้จำหน่ายอาหารที่มีคุณภาพด้วย

ทั้งนี้เพื่อให้การดำเนินงานโครงการดังกล่าวบรรลุเป้าหมายงานคุ้มครองผู้บริโภคโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลทุ่บ้านลำพดจึงได้จัดทำโครงการโครงการคุ้มครองผู้บริโภค ด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพในร้านชำและอาหารปลอดภัยในชุมชน ปี 2567 ขึ้นในบริบทพื้นที่ หมู่ที่ 3 ,4 ,6,7ครอบคลุม ครัวโรงเรียน และศูนย์เด็กเล็ก ตลอดจนการสร้างเครือข่ายคุ้มครองผู้บริโภคในชุมชน เครือข่าย อย.น้อย และ ร้านค้าในชุมชน เพื่อส่งเสริมให้เกิดความปลอดภัยในการบริโภคอาหารเพื่อที่จะนำไปสู่การมีสุขภาพที่ดีและห่างไกลโรค ของประชาชนในเขตพื้นที่ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านลำพด ต่อไป

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อให้ผู้ประกอบการร้านขายของชำ/แผงลอยในหมู่บ้านมีความรู้เกี่ยวกับอาหารยาเครื่องสำอาง ผลิตภัณฑ์สุขภาพ บริการสุขภาพและอาหารปลอดภัย

ผู้ประกอบการร้านขายของชำ/แผงลอยในหมู่บ้านมีความรู้เกี่ยวกับอาหารยาเครื่องสำอาง ผลิตภัณฑ์สุขภาพ บริการสุขภาพและอาหารปลอดภัย ร้อยละ 95

14.00
2 เพื่อให้ร้านอาหาร/แผงลอย/โรงอาหารมีความรู้เกี่ยวกับอาหารปลอดภัย

ร้านอาหาร/แผงลอยมีความรู้เกี่ยวกับอาหารปลอดภัย ร้อยละ 100

7.00
3 เพื่อสร้างเครือข่ายคุ้มครองผู้บริโภคในชุมชน และเครือข่าย อย.น้อย ในโรงเรียน

เครือข่าย อย.น้อย ในโรงเรียนมีความรู้ความเข้าใจ ร้อยละ 100

60.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 30,250.00 0 0.00
1 มี.ค. 67 - 30 เม.ย. 67 1 จัดอบรมให้ความรู้ กลุ่มเป้าหมาย นักเรียนกิจกรรมเครือข่าย อย.น้อย ในโรงเรียน 0 17,360.00 -
1 มี.ค. 67 - 30 ก.ย. 67 กิจกรรม อบรมให้ความรู้ อสม. ผู้ประกอบการร้านชำและร้านอาหาร 0 11,930.00 -
1 มี.ค. 67 - 30 ก.ย. 67 ตรวจประเมินร้านอาหาร/แผงลอยโดยใช้แบบประเมินตรวจร้านอาหารและน้ำยา SI2 0 960.00 -

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. แกนนำ อย.มีความรู้ ร้อยละ 100

  2. ร้านชำมีความรู้ร้อยละ 100

  3. ร้านอาหาร/แผงลอย ผ่านการตรวจแบบประเมินตรวจร้านอาหารและน้ำยา SI2 ร้อยละ 100

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 2 พ.ย. 2566 00:00 น.