กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลลำไพล


“ ส่งเสริมสุขภาพ เพิ่มการเคลื่อนไหว รถขาไถของหนูน้อย ”

ศูนย์อบรมเด็กก่อนเกณฑ์มัสยิดบ่าโร๊ะสิตี ม.10 ตำบลลำไพล อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นางสาวตัสนีม สาแมแน็ง

ชื่อโครงการ ส่งเสริมสุขภาพ เพิ่มการเคลื่อนไหว รถขาไถของหนูน้อย

ที่อยู่ ศูนย์อบรมเด็กก่อนเกณฑ์มัสยิดบ่าโร๊ะสิตี ม.10 ตำบลลำไพล อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 67-L5192-02-06 เลขที่ข้อตกลง 67-L5192-02-06

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 2 พฤษภาคม 2567 ถึง 25 ตุลาคม 2567


กิตติกรรมประกาศ

"ส่งเสริมสุขภาพ เพิ่มการเคลื่อนไหว รถขาไถของหนูน้อย จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ศูนย์อบรมเด็กก่อนเกณฑ์มัสยิดบ่าโร๊ะสิตี ม.10 ตำบลลำไพล อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลลำไพล ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
ส่งเสริมสุขภาพ เพิ่มการเคลื่อนไหว รถขาไถของหนูน้อย



บทคัดย่อ

โครงการ " ส่งเสริมสุขภาพ เพิ่มการเคลื่อนไหว รถขาไถของหนูน้อย " ดำเนินการในพื้นที่ ศูนย์อบรมเด็กก่อนเกณฑ์มัสยิดบ่าโร๊ะสิตี ม.10 ตำบลลำไพล อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 67-L5192-02-06 ระยะเวลาการดำเนินงาน 2 พฤษภาคม 2567 - 25 ตุลาคม 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 17,590.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลลำไพล เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ด้วยกระทรวงมหาดไทยมีนโยบายในการส่งเสริมและสนับสนุนให้ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พัฒนาเด็กปฐมวัยให้มีพัฒนาการทางด้านร่างกายที่แข็งแรงและจิตใจ อารมณ์มีความเบิกบาน มีความกล้าหาญ มีวินัย มีน้ำใจนักกีฬา รู้แพ้ รู้ชนะ รู้อภัย เคารพกฎ ระเบียบ กติกา ด้วยกิจกรรมจักรยานขาไถ เพราะช่วยส่งเสริมพัฒนาการของเด็กได้ทุกด้าน ทั้งกล้ามเนื้อมัดเล็กและกล้ามเนื้อมัดใหญ่ให้แข็งแรง เป็นการฝึกการทรงตัว รวมทั้งช่วยฝึกสายตา การแยกแยะสี การประเมินระยะทาง การใช้มือและแขนเพื่อบังคับทิศทาง และการใช้กล้ามเนื้อขาที่ออกแรงเดิน เพื่อให้เด็กเติบโตเป็นผู้ใหญ่ที่ดีต่อไป
ศูนย์อบรมเด็กก่อนเกณฑ์มัสยิดบ่าโร๊ะสิตีได้รับหนังสือนำส่งจากกองส่งเสริมและพัฒนาการจัดการศึกษาท้องถิ่น กลุ่มงานส่งเสริมการจัดการศึกษาปฐมวัยและศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ให้ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กทุกแห่งจัดกิจกรรมจักรยานขาไถขึ้น ในแผนการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ บูรณาการกิจกรรม 6 กิจกรรม กิจกรรมเคลื่อนไหว และกิจกรรมกลางแจ้งศูนย์อบรมเด็กก่อนเกณฑ์มัสยิดบ่าโร๊ะสิตีจึงจัดกิจกรรมเรียบร้อยแล้ว โดยจัดซื้อรถขาไถ จำนวน 2 คัน และหมวกกันน็อค 2 ชุดเท่านั้น โดยงบประมาณได้มาจากคณะกรรมการระดมทุนซื้อให้ศูนย์อบรมเด็กก่อนเกณฑ์มัสยิดบ่าโร๊ะสิตี ปัจจุบันนี้รถขาไถกับหมวกกันน็อคชำรุดแล้ว แต่ยังมีอุปกรณ์เซฟตี้ ได้แก่ สนับเข่าและศอก และขาตั้งจักรยานที่ยอดรถขาไถ สำหรับเด็ก จำนวน 10 ชุด สิ่งสำคัญการสร้างสายใยระหว่างผู้ปกครองกับนักเรียน ทำให้ผู้ปกครองมีความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมจักรยานขาไถที่ช่วยพัฒนาทักษะให้แก่บุตรหลาน ทำให้ห่างไกลจากโทรศัพท์มือถือและโทรทัศน์
จากการประเมินผลพัฒนาการเด็กด้วยกิจกรรมขาไถ โดยใช้แบบประเมินพฤติกรรมรายบุคคล ในเดือนเมษายน 2567 1. ด้านการทรงตัวขณะขี่จักรยานขาไถ คะแนนเต็ม 120 คะแนนที่ได้ 53 คะแนน2.ความแข็งแรงของกล้ามเนื้อแขนและขา คะแนนเต็ม 120 คะแนนที่ 74 คะแนน 3.กล้าคิดกล้าตัดสินใจ คะแนนเต็ม 120 คะแนนที่ได้ 79 คะแนน 4. น้ำใจนักกีฬา รู้แพ้ รู้ชนะ รู้อภัย คะแนนเต็ม 120 คะแนนที่ได้ 114 คะแนน รวมคะแนนเต็ม 480 คะแนน คะแนนรวมที่นักเรียนได้ 331 คิดเป็นร้อยละ 68.95 % จากการประเมินพฤติกรรมรายบุคคลของนักเรียนศูนย์อบรมเด็กก่อนเกณฑ์มัสยิดบ่าโร๊ะสิตี ในการจัดกิจกรรมรถจักรยานขาไถตามนโยบายของกระทรวงมหาดไทยที่บังคับให้ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กทุกแห่งสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ส่งเสริมให้เด็กมีพัฒนาการของเด็กได้ทุกด้าน ดังนั้น ศูนย์อบรมเด็กก่อนเกณฑ์มัสยิดบ่าโร๊ะสีตี สังกัดกรมศาสนา จึงเสนอโครงการส่งเสริมสุขภาพ เพิ่มการเคลื่อนไหว รถขาไถของหนูน้อยเพื่อส่งเสริมการออกกำลังกายให้เด็กมีสมาธิมากขึ้น รู้จักการเรียนรู้ในการประเมินกับอุปสรรคเส้นทางที่เจอ รวมทั้งสานสัมพันธ์ความรักในครอบครัวผ่านกิจกรรมที่ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กได้จัดขึ้นในทุกสัปดาห์ สัปดาห์ละ 2 วัน

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อเพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในเด็กปฐมวัย
  2. เพื่อส่งเสริมและพัฒนาให้เด็กมีสุขภาพแข็งแรง เติบโตสมวัย

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ประชุมคณะกรรมการจัดเตรียมโครงการ
  2. อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการเพิ่มกิจกรรมทางกายด้วยรถขาไถ
  3. ปลุกนักปั่นจิ๋ว สู่สังคม "รู้แพ้ รู้ชนะ รู้อภัย"
  4. สรุปรายงาน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 40
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.เด็กมีพัฒนาการทางด้านร่างกายสมวัย มีกล้ามเนื้อมัดเล็กมัดใหญ่แข็งแรง มีการทรงตัวที่ดี 2.เด็กมีพัฒนาการทางด้านจิตใจ อารมณ์สมวัย มีความเบิกบาน มีความกล้าหาญ มีวินัย มีน้ำใจนักกีฬา รู้จักแพ้ รู้จักชนะ เคารพกฎ ระเบียบ กติกา
3.เด็กมีพัฒนาการด้านการคิดเชิงบริหารสมวัย มีสมาธิสามารถควบคุม กำกับ ตนเองได้สมวัย
4.ครูหรือผู้ดูแลเด็กมีคุณภาพสามารถในการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ได้อย่างเต็มตามศักยภาพ
5.เด็กมีพัฒนาการทุกด้านสมวัย พร้อมเรียนรู้ในระดับที่สูงขึ้น


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อเพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในเด็กปฐมวัย
ตัวชี้วัด : ร้อยละของเด็กปฐมวัย 2-3ปี ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับเบา ปานกลาง และมาก สะสมอย่างน้อย 180 นาทีต่อวัน)
80.00 100.00

 

2 เพื่อส่งเสริมและพัฒนาให้เด็กมีสุขภาพแข็งแรง เติบโตสมวัย
ตัวชี้วัด : ร้อยละของเด็กปฐมวัย 2-3 ปี มีสุขภาพแข็งแรง เติบโตสมวัย
80.00 100.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 40
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 40
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในเด็กปฐมวัย (2) เพื่อส่งเสริมและพัฒนาให้เด็กมีสุขภาพแข็งแรง เติบโตสมวัย

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมคณะกรรมการจัดเตรียมโครงการ (2) อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการเพิ่มกิจกรรมทางกายด้วยรถขาไถ (3) ปลุกนักปั่นจิ๋ว สู่สังคม "รู้แพ้  รู้ชนะ  รู้อภัย" (4) สรุปรายงาน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ส่งเสริมสุขภาพ เพิ่มการเคลื่อนไหว รถขาไถของหนูน้อย จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 67-L5192-02-06

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวตัสนีม สาแมแน็ง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด