กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.รือเสาะ


“ โครงการอบรมให้ความรู้แก่ผู้ดูแลผู้ป่วยความดันโลหิตสูงและเบาหวาน ”

ตำบลรือเสาะ อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นางสาวฮานีซะห์ แมเลาะ

ชื่อโครงการ โครงการอบรมให้ความรู้แก่ผู้ดูแลผู้ป่วยความดันโลหิตสูงและเบาหวาน

ที่อยู่ ตำบลรือเสาะ อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 67-L2511-1-09 เลขที่ข้อตกลง 08/2567

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2024 ถึง 31 สิงหาคม 2024


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการอบรมให้ความรู้แก่ผู้ดูแลผู้ป่วยความดันโลหิตสูงและเบาหวาน จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลรือเสาะ อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.รือเสาะ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการอบรมให้ความรู้แก่ผู้ดูแลผู้ป่วยความดันโลหิตสูงและเบาหวาน



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการอบรมให้ความรู้แก่ผู้ดูแลผู้ป่วยความดันโลหิตสูงและเบาหวาน " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลรือเสาะ อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 67-L2511-1-09 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2024 - 31 สิงหาคม 2024 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 27,840.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.รือเสาะ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคความดันโลหิตสูงเป็นโรคเรื้อรังที่เกิดขึ้นกับ ประชาชนเป็นจำนวนมาก และเป็น 1 ในสาเหตุการตาย ก่อนวัยอันควร องค์การอนามัยโลกคาดว่าในปี พ.ศ. 2568 ประชากรทั่วโลก กว่า 1.56 พันล้านคน จะป่วยด้วย โรคความดันโลหิตสูง และพบว่าประชาชนในวัยผู้ใหญ่ใน เขตเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ รวมถึงประเทศไทย มีภาวะ ความดันโลหิตสูงและเสียชีวิตจากโรคความดันโลหิตสูง ประมาณ 1.5 ล้านคน (World Health Organization [WHO], 2011) จากข้อมูลสถิติ สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ กระทรวงสาธารณสุข (2554) พบอัตราผู้ป่วยใน สถานบริการสาธารณสุข เปรียบเทียบปี พ.ศ. 2543 และ ปี พ.ศ. 2553 เพิ่มสูงขึ้น 5.21 เท่าจาก 259.02 ต่อ ประชากรแสนคน เป็น 1,349.39 ต่อประชากรแสนคน ซึ่งโรคความดันโลหิตสูงเป็นโรคเรื้อรังที่รักษา ไม่หายขาด ขึ้นอยู่กับความร่วมมือในการรักษา และ ความสามารถในการดูแลตนเอง หากประชาชน ไม่สามารถดูแลตนเองได้อย่างต่อเนื่อง หรือเกิดความ บกพร่องในการดูแลตนเองจะทำให้เกิดภาวะแทรกซ้อน สำคัญกับ หัวใจ ตา ไต และสมอง
ดังนั้นเพื่อให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุดในการดูแล ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงในชุมชน ครอบครัวถือเป็น สถาบันหลักในการดูแลสุขภาพ (สุภาณี ยอดสิน และ เสาวคนธ์ วีระศิริ, 2555) เพราะครอบครัวมีบทบาทที่ สำคัญต่อพฤติกรรมสุขภาพและการเจ็บป่วยของผู้ป่วย ถ้าผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงได้รับการสนับสนุนจาก ครอบครัว ช่วยเอื้ออำนวยให้ผู้ป่วยมีพฤติกรรมการรับ ประทานอาหาร การใช้ยา การออกกำลังกายที่เหมาะสม ก็ จะช่วยให้ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงสามารถเผชิญ ปัญหาและความเจ็บป่วยที่เกิดขึ้นได้ (เพ็ญศิริ สิริกุล, ชัยลิขิต สร้อยเพชรเกษม, และเสริม ทัศศรี, 2553) ผู้ดูแลผู้ป่วยเป็นบุคคลที่มีความสำคัญมากใน การดูแลผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่บ้าน ถ้าผู้ดูแลมี ความพร้อมในการดูแลผู้ป่วย สามารถให้การดูแลผู้ป่วย ได้อย่างเต็มศักยภาพ ผลลัพธ์ตามมาที่จะเกิดกับ ผู้ป่วย คือ สามารถควบคุมอาการของโรคได้ และลด การกลับเข้ารับการรักษาซ้ำในโรงพยาบาล (สายพิณ เกษมกิจวัฒนา และปิยะภรณ์ ไพรสนธิ์, 2557) รวมทั้ง ต้องอาศัยการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายในชุมชน ได้แก่ อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) ผู้ใหญ่บ้าน บุคลากรทางด้านสาธารณสุข เพื่อการดูแล ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงได้ดียิ่งขึ้น ชุมชนบ้านสโลว์บูกิ๊ตจือแร เป็น ชุมชนที่มีประชากรอยู่อาศัย มีจำนวนประชากร๔,๑๔๙คน จำนวน ๙๒๔ หลังคาเรือนมีประชากรมีผู้ป่วยด้วยโรคความดันโลหิตสูงทั้งหมด ๓๔๕ ราย โรคเบาหวาน ๒๘ รายโดยเฉพาะ โรคความดันโลหิตสูงเป็นโรคที่เกิดขึ้นเป็นอันดับ 1 ใน ชุมชนจากสถิติผู้ป่วยโรคเรื้อรังทั้งหมดจำนวน ๓๔๕ คนผู้ดูแลมีส่วนรับผิดชอบในการ ดูแลผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงในชุมชน การดูแลเป็น งานที่หนักและซับซ้อน ต้องอาศัยความรู้ ทักษะ และ ความพยายามอย่างต่อเนื่อง เช่น การเฝ้าระวังภาวะ แทรกซ้อน การรับประทานยา และอาการข้างเคียงต่างๆ ผู้ดูแลจะต้องมีการปรับตัวต่อบทบาทหน้าที่ของตนเอง หากไม่สามารถปรับบทบาทหรือเพิ่มประสิทธิภาพการ ดูแลได้ก็จะส่งผลกระทบต่อผู้ป่วยโดยตรง ผู้ป่วยต้อง เข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลซ้ำ เกิดภาวะแทรกซ้อน หรือเสียชีวิตก่อนเวลาอันควร ดังนั้นผู้ดูแลผู้ป่วยโรค ความดันโลหิตสูง จึงมีความสำคัญต่อการพัฒนา คุณภาพชีวิตผู้ป่วยให้ดีขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเบาหวานสามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดอยู่ในเกณฑ์ปกติได้
  2. เพื่อให้ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงสามารถควบคุมระดับความดันโลหิตอยุ่ในเกณฑ์ปกติ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. 1.กิจกรรมอบรมแก่อสม.ที่รับผิดชอบ และฝึกปฏิบัติการเจาะเลือดปลายนิ้วที่ถูกวิธี
  2. 2.กิจกรรมประชุมผู้ดูแลกลุ่มโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน150 คน แบ่งเป็น 2 รุ่น

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 100
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

๑.ผู้ป่วยโรคเบาหวานสามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดอยู่ในเกณฑ์ปกติ ๒.ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงสามารถควบคุมความดันโลหิตอยู่ในเกณฑ์ปกติ
๓.ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานได้รับการตรวจภาวะแทรกซ้อน
๔.ผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรังเบาหวานความดันโลหิตสูงมีความรู้ในเรื่องโรคเบาหวานความดันโลหิตสูงการดูแลสุขภาพการรับประทานอาหารและยาการออกกำลังกายการตรวจสุขภาพตา ไต เท้าทั้งสามารถดูแลตนเองได้อย่างถูกต้อง
๕.ผู้ป่วยสามารถนำความรู้ที่ได้รับมาปรับพฤติกรรมในเรื่องการดูแลสุขภาพตนเองใช้ยาได้อย่างปลอดภัยถูกวิธีและลดการพึ่งพาการใช้ยาที่เกินความจำเป็น


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเบาหวานสามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดอยู่ในเกณฑ์ปกติได้
ตัวชี้วัด : 1.ผู้ป่วยโรคเบาหวานสามารถควบคุมระดับเบาหวานอยุ่ในเกณฑ์ร้อยละ
40.00

 

2 เพื่อให้ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงสามารถควบคุมระดับความดันโลหิตอยุ่ในเกณฑ์ปกติ
ตัวชี้วัด : 2.ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงสามารถควบคุมระดับความดันโลหิตอยุ่ในเกณฑ์ร้อยละ
50.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 100
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 100
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 0
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเบาหวานสามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดอยู่ในเกณฑ์ปกติได้ (2) เพื่อให้ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงสามารถควบคุมระดับความดันโลหิตอยุ่ในเกณฑ์ปกติ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1.กิจกรรมอบรมแก่อสม.ที่รับผิดชอบ และฝึกปฏิบัติการเจาะเลือดปลายนิ้วที่ถูกวิธี (2) 2.กิจกรรมประชุมผู้ดูแลกลุ่มโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน150 คน แบ่งเป็น 2 รุ่น

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการอบรมให้ความรู้แก่ผู้ดูแลผู้ป่วยความดันโลหิตสูงและเบาหวาน จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 67-L2511-1-09

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวฮานีซะห์ แมเลาะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด