กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโคกม่วง


“ โครงการส่งเสริมสุขภาพมารดาหลังคลอดและทารกแรกเกิดด้วยการแพทย์แผนไทยปีงบประมาณ 2567 ”

เขตพื้นที่เทศบาลตำบลโคกม่วง

หัวหน้าโครงการ
นางพวงทิพย์ กล้าคง , นางสาวอุบลรัตน์ เมืองสง

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมสุขภาพมารดาหลังคลอดและทารกแรกเกิดด้วยการแพทย์แผนไทยปีงบประมาณ 2567

ที่อยู่ เขตพื้นที่เทศบาลตำบลโคกม่วง จังหวัด

รหัสโครงการ 67-L3312-2-13 เลขที่ข้อตกลง 8/67

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 20 ธันวาคม 2566 ถึง 30 กันยายน 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมสุขภาพมารดาหลังคลอดและทารกแรกเกิดด้วยการแพทย์แผนไทยปีงบประมาณ 2567 จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน เขตพื้นที่เทศบาลตำบลโคกม่วง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโคกม่วง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมสุขภาพมารดาหลังคลอดและทารกแรกเกิดด้วยการแพทย์แผนไทยปีงบประมาณ 2567



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมสุขภาพมารดาหลังคลอดและทารกแรกเกิดด้วยการแพทย์แผนไทยปีงบประมาณ 2567 " ดำเนินการในพื้นที่ เขตพื้นที่เทศบาลตำบลโคกม่วง รหัสโครงการ 67-L3312-2-13 ระยะเวลาการดำเนินงาน 20 ธันวาคม 2566 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 15,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโคกม่วง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

งานอนามัยแม่และเด็กเป็นบริการสุขภาพขั้นพื้นฐานที่สำคัญของการพัฒนาคุณภาพประชากร ซึ่งเริ่มตั้งแต่การดูแลครรภ์ โดยในปี 2565 การยกระดับบริการฝากครรภ์ โดยให้หญิงตั้งครรภ์ฝากก่อน 12 สัปดาห์และฝากครรภ์ต่อเนื่องตามเกณฑ์ฝากครรภ์ 5 ครั้งเพื่อให้การตั้งครรภ์และการคลอดอย่างมีคุณภาพ มารดาและทารกปลอดภัยมีสุขภาพสมบูรณ์แข็งแรงต่อเนื่องถึงการให้การดูแลเด็กในช่วงปฐมวัยต่อไป การส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ พัฒนาชุมชนและสังคมให้สนับสนุนและส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ จากข้อมูลของงานอนามัยแม่และเด็กในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพในเขตเทศบาลตำบลโคกม่วง พบว่า ทารกแรกเกิดมีน้ำหนักต่ำกว่า 2,500 กรัม จำนวน 0 ราย และฝากครรภ์อายุครรภ์มากว่า 12 สัปดาห์จำนวนรายแนวทางการดูแลและป้องกันการเกิดปัญหาอนามัยแม่และเด็ก คือ ต้องให้การดูแลที่มีคุณภาพมีมาตรฐาน หญิงตั้งครรภ์ได้รับบริการฝากครรภ์คุณภาพ และเสริมทักษะ การดูแลหลังคลอดด้วยการแพทย์แผนไทยร่วมกับภูมิปัญญาหมอพื้นบ้าน และทารกควรได้รับการเลี้ยงลูกด้วยนมมารดาอย่างเดียวอย่างน้อย 6 เดือน การมีส่วนร่วมของชุมชนมีเครือข่ายที่เข้มแข็ง งานอนามัยแม่และเด็กโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพในเขตเทศบาลตำบลโคกม่วง ได้ตระหนักถึงความสำคัญของการพัฒนาคุณภาพแม่และเด็กแบบองค์รวมให้ประสบความสำเร็จและมีคุณภาพจึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมสุขภาพหญิงตั้งครรภ์และดูแลมารดาหลังคลอดด้วยภูมิปัญญาแพทย์พระราชบัญญัติกำหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอำนาจให้แก่องค์ปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2542 (แก้ไขเพิ่มเติมถึงฉบับที่ 2) พ.ศ. 2549 มาตรา 54 ภายใต้บังคับแห่งกฎหมาย เทศบาลเมืองอาจจัดทำกิจการใดๆในเขตเทศบาลดังต่อไปนี้ (4) ให้มีและการบำรุงการสงเคราะห์มารดาและเด็กการดูแลมารดาหลังคลอด
ตามศาสตร์การแพทย์แผนไทย หรือ เรียกว่า การอยู่ไฟเมื่อหลังจากการคลอดบุตร จะทำให้ธาตุในร่างกาย ทั้ง 4 (ดิน น้ำ ลม ไฟ) เกิดการเสียสมดุล โดยเฉพาะธาตุไฟ จะส่งผลให้มารดา ไม่สบายตัว ปวดเมื่อยตามร่างกาย อ่อนเพลีย หรืออาจมีอาการคัดตึงเต้านมร่วมด้วย ซึ่งการดูแลมารดาหลังคลอด เป็นการฟื้นฟูสุขภาพมารดาจะช่วยให้ ร่างกายอบอุ่น ลดอาการปวดกล้ามเนื้อ ขับน้ำคาวปลา ลดอาการคัดตึงเต้านม ทำให้ธาตุทั้ง 4 ในร่างกายกลับมาอยู่ในภาวะสมดุลซึ่งสามารถทำดูแลมารดาหลังคลอดได้เมื่อใดมารดาคลอดธรรมชาติ(คลอดเอง) หลังจากคลอดแล้ว 7-10 วันสามารถทำได้เลย ถ้าไม่มีอาการอ่อนเพลียจากการคลอดบุตร และแผลบริเวณช่องคลอดแห้งสนิทดี มารดาผ่าตัดคลอด สามารถทำได้หลังจากการผ่าตัดคลอดแล้ว 30 – 45 วัน หรือ จนกว่าแผลผ่าตัดจะหายและแห้งสนิทดีประโยชน์ของการดูแลมารดาหลังคลอดช่วยทำให้มดลูกเข้าอู่ ช่วยขับน้ำคาวปลา ช่วยลดอาการปวดเมื่อยตามร่างกาย ช่วยลดอาการคัดตึงเต้านม ช่วยกระตุ้นการไหลเวียนเลือด ลดอาการอาการอ่อนเพลีย ช่วยให้กล้ามเนื้อหน้าท้องกระชับ หน้าท้องยุบการอยู่ไฟจะได้ผลดี ต้องทำไม่เกิน 3 เดือนหลังจากคลอดบุตร การทำหลังคลอดนิยมทำ 5-10 วันต่อเนื่อง ซึ่งในปีงบประมาณ 2566 มีมารดาหลังคลอดจำนวน 30 ราย มาดาหลังคลอดมีความรู้ความเข้าใจในการปฏิบัติตัวหลังคลอดมารดาหลังคลอดไม่ได้เกิดภาวะแทรกซ้อนหรือเกิดอันตรายหลังคลอดแต่ยังไม่เห็นความสำคัญในปฏิบัติตัวหลังคลอดด้วยภูมิปัญญาแบบแผนไทยด้วยการประคบซึ่งจะช่วยกระตุ้นการไหลเวียนเลือดให้ดีขึ้น ช่วยลดอาการบวม ลดอาการอักเสบของกล้ามเนื้อ ลดอาการปวดเมื่อยตามร่างกาย ลดอาการคัดตึงเต้านม และมารดาหลังคลอดเห็นความสำคัญการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างน้อย 6 เดือนแค่ 70%ในส่วนประโยชน์ของน้ำขิงสำหรับมารดาหลังคลอดช่วยให้ระบบไหลเวียนโลหิตทำงานดี รู้สึกสดชื่น ผ่อนคลาย ลดอาการคนท้องท้องอืด ช่วยทำให้ลำไส้ทำงานดี ขับลมและน้ำขิงช่วยเสริมสร้างกระบวนการผลิตน้ำนมแม่ และไขไก่หรือไข่เป็ดมารดาหลังคลอดควรรับประทานทุกวัน ประมาณวันละ 1ฟอง ซึ่งไข่ไก่มีโปรตีนมาก ธาตุเหล็กและวิตตามินเอ ในระยะให้นมบุตรแม่จำเป็นต้องได้รับโปรตีนให้เพียงพอเพื่อใช้ในการสร้างน้ำนมสำหรับบุตรและเพื่อซ่อมแซมเซลล์ต่างๆ ของแม่ที่สูญเสียไปในการคลอด ทีมงานเครือข่ายสร้างเสริมสุขภาพและครอบครัวตำบลโคกม่วงเล็งเห็นความสำคัญดังกล่าวเพื่อเป็นการส่งเสริมสุขภาพของหญิงตั้งครรภ์ มารดาหลังคลอดและเด็กในครรภ์ เป็นการส่งเสริมสุขภาพของหญิงขณะตั้งครรภ์ มารดาหลังคลอดและเด็กในครรภ์ อีกทั้งเป็นการสืบทอดความรู้ในการดูแลมารดาหลังคลอดด้วยการแพทย์แผนไทยร่วมกับภูมิปัญญาหมอพื้นบ้านจึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมสุขภาพมารดาหลังคลอดและทารกแรกเกิดด้วย การแพทย์แผนไทยปีงบประมาณ 2567 ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้มารดาหลังคลอดมีความรู้ความเข้าใจในการปฏิบัติตัวหลังคลอดผสมผสานด้วยการแพทย์แผนไทย
  2. เพื่อส่งเสริมสุขภาพของทารกแรกเกิดโดยมารดาหลังคลอดเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างน้อย 6 เดือน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. สรุปและรายงานผลการดำเนินโครงการ
  2. กิจกรรมส่งเสริมสุขภาพและสร้างกระแสการดูแลสุขภาพของมารดาหลังคลอดและทารกแรกเกิดแบบเชิงรุก
  3. กิจกรรมสร้างกระแสการดูแลสุขภาพของแม่และเด็ก กิจกรรมการประกวดหนูน้อยสุขภาพดีด้วยนมแม่

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 30
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. มารดาหลังคลอดที่ได้รับการฟื้นฟูด้วยการแพทย์แผนไทยมีภาวะสุขภาพดีทั้งร่างกายและจิตใจโดยรวดเร็ว ไม่มีภาวะแทรกซ้อนอันตรายหลังคลอด
  2. มารดาหลังคลอด สามารถเลี้ยงดูทารกด้วยนมแม่อย่างเดียวจนถึง 6 เดือน

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้มารดาหลังคลอดมีความรู้ความเข้าใจในการปฏิบัติตัวหลังคลอดผสมผสานด้วยการแพทย์แผนไทย
ตัวชี้วัด : 1. มารดาหลังคลอดมีความรู้ ความเข้าใจในการปฏิบัติตัวหลังคลอดผสมผสานด้วยการแพทย์แผนไทย ร้อยละ90
30.00 30.00

 

2 เพื่อส่งเสริมสุขภาพของทารกแรกเกิดโดยมารดาหลังคลอดเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างน้อย 6 เดือน
ตัวชี้วัด : 2.มารดาเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างน้อย 6 เดือน ร้อยละ 80
30.00 30.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 30
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 30
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้มารดาหลังคลอดมีความรู้ความเข้าใจในการปฏิบัติตัวหลังคลอดผสมผสานด้วยการแพทย์แผนไทย (2) เพื่อส่งเสริมสุขภาพของทารกแรกเกิดโดยมารดาหลังคลอดเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างน้อย 6 เดือน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) สรุปและรายงานผลการดำเนินโครงการ (2) กิจกรรมส่งเสริมสุขภาพและสร้างกระแสการดูแลสุขภาพของมารดาหลังคลอดและทารกแรกเกิดแบบเชิงรุก (3) กิจกรรมสร้างกระแสการดูแลสุขภาพของแม่และเด็ก กิจกรรมการประกวดหนูน้อยสุขภาพดีด้วยนมแม่

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการส่งเสริมสุขภาพมารดาหลังคลอดและทารกแรกเกิดด้วยการแพทย์แผนไทยปีงบประมาณ 2567 จังหวัด

รหัสโครงการ 67-L3312-2-13

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางพวงทิพย์ กล้าคง , นางสาวอุบลรัตน์ เมืองสง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด