กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลนาทับ


“ โครงการเด็กนาทับฟันสวย ยิ้มสดใส ใส่ใจสุขภาพช่องปาก ปี 2567 ”

ตำบลนาทับ อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นางประทีป ปิ่นทอง

ชื่อโครงการ โครงการเด็กนาทับฟันสวย ยิ้มสดใส ใส่ใจสุขภาพช่องปาก ปี 2567

ที่อยู่ ตำบลนาทับ อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 67-L5181-01-05 เลขที่ข้อตกลง 05/2567

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 15 มกราคม 2567 ถึง 31 พฤษภาคม 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเด็กนาทับฟันสวย ยิ้มสดใส ใส่ใจสุขภาพช่องปาก ปี 2567 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลนาทับ อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลนาทับ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเด็กนาทับฟันสวย ยิ้มสดใส ใส่ใจสุขภาพช่องปาก ปี 2567



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเด็กนาทับฟันสวย ยิ้มสดใส ใส่ใจสุขภาพช่องปาก ปี 2567 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลนาทับ อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 67-L5181-01-05 ระยะเวลาการดำเนินงาน 15 มกราคม 2567 - 31 พฤษภาคม 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 18,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลนาทับ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

สุขภาพช่องปากมีผลต่อสุขภาพร่างกายและจิตใจของเด็ก หากเด็กเล็กมีฟันผุในระดับที่ก่อให้เกิดความเจ็บปวดหรือมีการติดเชื้อของฟัน จะมีผลกระทบต่อสุขภาพโดยรวมของเด็ก อาทิ การมีน้ำหนักและส่วนสูงต่ำกว่าปกติ (Acsและคณะ, 1992, Ayhan, Suskan และ Yidrim, 1996) เพราะในภาวะที่เด็ก มีความเจ็บปวดและอยู่ในระหว่างการติดเชื้อของฟัน เด็กจะรับประทานอาหารได้น้อยลง ในขณะเดียวกันอัตราการเผาผลาญพลังงานโดยรวมในร่างกายเพิ่มขึ้น เพื่อตอบสนองต่อการติดเชื้อ รวมถึงการมีความเจ็บปวดทำให้รบกวนการนอน ส่งผลต่อการหลั่งฮอร์โมนที่ควบคุมการเจริญเติบโตของร่างกาย ทำให้มีผลต่อพัฒนาการของเด็กในที่สุด นอกจากนี้ในเด็กที่มีการสูญเสียฟันน้ำนมด้านหน้าบนไปตั้งแต่อายุน้อยๆ จะส่งผลต่อพัฒนาการในการพูดและความเชื่อมั่นในตนเองของเด็กอีกด้วย (Davies,1998) จากข้อมูลการสำรวจสภาวะสุขภาพช่องปากแห่งชาติครั้งที่ 8 ของประเทศไทย ปี 2560 พบว่า เด็กอายุ 3 ปี เกิดโรคฟันผุ ร้อยละ 52.9 เด็กอายุ 5 ปี เกิดโรคฟันผุร้อยละ 75.6 จากการสำรวจข้อมูลการตรวจสภาวะช่องปากเด็กอายุ 3 ปี ในเขตพื้นที่รับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลนาทับ ปี 2565 และ ปี 2566 โดยงานทันตสาธารณสุข โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลนาทับ พบว่า เด็กอายุ 3 ปี มีฟันผุร้อยละ 44.44 และ ร้อยละ 38.24 ตามลำดับ ซึ่งมีความเสี่ยงสูงที่จะเกินกว่าเกณฑ์ที่ทางกรมอนามัยกระทรวงสาธารณสุขได้กำหนดไว้ไม่เกิน ร้อยละ 54
จากปัญหาดังกล่าวนับได้ว่าเป็นปัญหาที่ต้องได้รับการแก้ไขอย่างเร่งด่วน ซึ่งในการแก้ไขปัญหาที่ดีที่สุดนั้นต้องแก้ไขที่ต้นเหตุ นั่นคือ การส่งเสริมและป้องกันโรค โดยการเน้นการให้ความรู้เชิงปฏิบัติเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพช่องปากเด็กแก่ผู้ปกครองอย่างสม่ำเสมอ เพื่อไม่ให้เกิดความล่าช้าในการแก้ไขปัญหาข้างต้น งานทันตสาธารณสุข โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลนาทับ ได้เล็งเห็นถึงปัญหาดังกล่าวจึงจัดทำโครงการ“เด็กนาทับฟันสวย ยิ้มสดใส ใส่ใจสุขภาพช่องปาก ปี 2567”ขึ้น เพื่อให้ผู้ปกครองมีความรู้ ทัศนคติ และการปฏิบัติในการดูแลสุขภาพช่องปากเด็กที่ดี ซึ่งจะเป็นปัจจัยที่จะสนับสนุนให้เด็กมีสุขภาพที่สมบูรณ์ทั้งทางด้านร่างกายและจิตใจต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อลดปัญหาฟันผุของเด็กอายุ 0-2 ปี
  2. เพื่อให้เด็กอายุ 0 - 2 ปี ได้รับการตรวจสุขภาพช่องปาก
  3. เพื่อให้ผู้ปกครองเด็กอายุ 0 - 2 ปี ได้รับการฝึกปฏิบัติการแปรงฟันที่ถูกวิธี

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมให้ความรู้แก่ผู้ปกครอง
  2. กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้สู่สุขภาพช่องปากที่ดี
  3. สุ่มตรวจติดตามกลุ่มผู้ปกครอง
  4. สรุปผลการดำเนินโครงการ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 80
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 80
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.เด็กอายุ 0 - 2 ปี มีปัญหาสุขภาพช่องปากลดลง 2.ผู้ปกครองสามารถแปรงฟันให้ลูก และตนเองได้อย่างถูกวิธี 3. ผู้ปกครองสามารถดูแลสุขภาพช่องปากของเด็กและตนเองได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4. ผู้ปกครองและเด็กมีสุขภาพช่องปากที่ดีขึ้น 5. ผู้ปกครองเห็นความสำคัญของการดูแลสุขภาพช่องปากดียิ่งขึ้น 6.มีเครือข่ายของผู้ปกครองในการดูแลส่งเสริมสุขภาพช่องปากให้ดีขึ้น 7.มีแผนการพัฒนาด้านสุขภาพช่องปากของชุมชน


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อลดปัญหาฟันผุของเด็กอายุ 0-2 ปี
ตัวชี้วัด : ร้อยละของปัญหาสุขภาพช่องปากในเด็กอายุ 0 - 2 ปี ลดลง
38.24 28.00

 

2 เพื่อให้เด็กอายุ 0 - 2 ปี ได้รับการตรวจสุขภาพช่องปาก
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 100 ของเด็กอายุ 0 - 2 ปี ได้รับการตรวจสุขภาพช่องปาก
53.00 100.00

 

3 เพื่อให้ผู้ปกครองเด็กอายุ 0 - 2 ปี ได้รับการฝึกปฏิบัติการแปรงฟันที่ถูกวิธี
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 100 ของผู้ปกครองเด็กอายุ 0 - 2 ปี ได้รับการฝึกปฏิบัติการแปรงฟันที่ถูกวิธี
70.00 100.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 160
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 80
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 80
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อลดปัญหาฟันผุของเด็กอายุ 0-2 ปี (2) เพื่อให้เด็กอายุ 0 - 2 ปี ได้รับการตรวจสุขภาพช่องปาก (3) เพื่อให้ผู้ปกครองเด็กอายุ 0 - 2 ปี ได้รับการฝึกปฏิบัติการแปรงฟันที่ถูกวิธี

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมให้ความรู้แก่ผู้ปกครอง (2) กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้สู่สุขภาพช่องปากที่ดี (3) สุ่มตรวจติดตามกลุ่มผู้ปกครอง (4) สรุปผลการดำเนินโครงการ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการเด็กนาทับฟันสวย ยิ้มสดใส ใส่ใจสุขภาพช่องปาก ปี 2567 จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 67-L5181-01-05

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางประทีป ปิ่นทอง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด