โครงการคัดกรองสารเคมีในเลือดเกษตรกร ในเขตรพ.สต.บ้านป่าบาก ปีงบประมาณ 2567
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการคัดกรองสารเคมีในเลือดเกษตรกร ในเขตรพ.สต.บ้านป่าบาก ปีงบประมาณ 2567 ”
ตำบลทุ่งนารี อำเภอป่าบอน จังหวัดพัทลุง
หัวหน้าโครงการ
1.นางนี เลี่ยนกัตวา 2.นางเจริญ คงสม 3.นางอุดมวรรณ ทองอินทร์ 4.นางกัลยา สนธ์น้อย 5.นางดารา ทองอินทร์
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งนารี
กันยายน 2567
ชื่อโครงการ โครงการคัดกรองสารเคมีในเลือดเกษตรกร ในเขตรพ.สต.บ้านป่าบาก ปีงบประมาณ 2567
ที่อยู่ ตำบลทุ่งนารี อำเภอป่าบอน จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 2567-L3341-02- เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2567
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการคัดกรองสารเคมีในเลือดเกษตรกร ในเขตรพ.สต.บ้านป่าบาก ปีงบประมาณ 2567 จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลทุ่งนารี อำเภอป่าบอน จังหวัดพัทลุง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งนารี ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการคัดกรองสารเคมีในเลือดเกษตรกร ในเขตรพ.สต.บ้านป่าบาก ปีงบประมาณ 2567
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการคัดกรองสารเคมีในเลือดเกษตรกร ในเขตรพ.สต.บ้านป่าบาก ปีงบประมาณ 2567 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลทุ่งนารี อำเภอป่าบอน จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 2567-L3341-02- ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 13,510.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งนารี เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
สารเคมีกำจัดศัตรูพืช สามารถทำอันตรายต่อสุขภาพร่างกายได้ทั้งมนุษย์ และสัตว์ กล่าวคือ จะไปทำลายอวัยวะภายในร่างกาย เช่น ตับ ไต ปอด สมองผิวหนัง ระบบประสาท ระบบสืบพันธุ์ และตาซึ่งก็ขึ้นอยู่กับว่าเราจะรับสารเคมีเข้าสู่ร่างกายทางใด และปริมาณมากน้อยเท่าใด ส่วนใหญ่แล้วการที่อวัยวะภายในร่างกายได้สะสมสารเคมีไว้จนถึงขีดที่ร่างกายไม่อาจทนได้จึงแสดงอาการต่างๆขึ้นมา เช่น โรคมะเร็ง โรคต่อมไร้ท่อ โรคเลือดและระบบภูมิคุ้มกันเป็นต้น บ้านทุ่งคลองควายหมู่ที่2 มีประชากรประกอบอาชีพเกษตรกรรมเป็นส่วนมาก ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 เกษตรกรมีการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืชเพิ่มขึ้น เนื่องจากรูปแบบการเกษตรเปลี่ยนแปลงไป จากเดิมรูปแบบการเกษตรทำเพื่อการบริโภคมาเป็นการเกษตรเศรษฐกิจเกษตรกรต้องการเพิ่มผลผลิตจึงจำเป็นต้องมีการใช้สารเคมีในการกระตุ้นการเจริญเติบโตประกอบกับมีการระบาดของศัตรูพืชจึงมีความจำเป็นต้องใช้สารเคมีในการกำจัดศัตรูพืชก็เพิ่มสูงขึ้น ซึ่งในการนำมาใช้นั้นได้มีการใช้อย่างไม่ถูกวิธีและขาดความรู้ จึงทำให้มีผลกระทบกับด้านสุขภาพโดยตรง
ดังนั้น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านป่าบาก จึงเล็งเห็นความสำคัญของสุขภาพที่มีความเสี่ยงในเขตพื้นที่รับผิดชอบ จึงได้จัดทำโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงที่มีระดับสารเคมีในเลือดสูง 2567 ขึ้นเพื่อให้เกษตรกรกลุ่มเสี่ยงในพื้นที่รับผิดชอบ ได้รับการตรวจสุขภาพและเจาะเลือดเพื่อดูว่ามีปริมาณสารเคมีตกค้างในกระแสเลือดอยู่ในระดับใดเพื่อทำการเฝ้าระวัง และปรับเปลี่ยนพฤติกรรม พร้อมให้รับประทานสมุนไพรรางจืดจัดเป็นยารสเย็นใช้ปรุงเป็นยาเขียวลดไข้ ถอนพิษผิดสำแดง และพิษอื่นๆ ใช้แก้ร้อนใน กระหายน้ำ สามารถลดพิษของสารกำจัดศัตรูพืชกลุ่มคาร์บอเนต เช่น เมโทรมิล เป็นต้น เพื่อที่จะได้ลดอัตราการป่วยจากโรคประกอบอาชีพ
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1.เพื่อให้เกษตรกรที่ใช้สารเคมีได้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการใช้สารเคมีและการบริโภคที่ปลอดภัย
- เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและการป้องกันการเกิดโรคจากการประกอบอาชีพที่ถูกต้องตามมาตรฐาน
- เพื่อจัดทำทะเบียน เกษตรกรที่ใช้สารเคมี
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ค้นหาเกษตรกรที่สัมผัสยาฆ่าแมลง และตรวจสารเคมีในร่างกายให้แก่เกษตรกร
- ให้เกษตรกรที่สัมผัสยาฆ่าแมลงปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ควบคู่กับการใช้รางจืด
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
100
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ร้อยละ 100 ของเกษตรกร ที่มีปริมาณสารเคมีตกค้างในกระแสเลือดมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการใช้สารเคมีและการบริโภคที่ปลอดภัย
- ร้อยละ 100 เกษตรกรมีพฤติกรรมและการป้องกันการใช้สารเคมีที่ถูกต้อง
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. ค้นหาเกษตรกรที่สัมผัสยาฆ่าแมลง และตรวจสารเคมีในร่างกายให้แก่เกษตรกร
วันที่ 20 กันยายน 2567 เวลา 08:30 น.กิจกรรมที่ทำ
20/09/2567 - 25/09/2567
1. ค้นหาเกษตรกรที่สัมผัสยาฆ่าแมลง
2. ให้ความรู้ในการเลือกและวิธีใช้สารเคมีที่ถูกต้อง พร้อมตรวจสารเคมีในเลือดให้แก่เกษตรกร
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
1.มีทะเบียนรายชื่อเกษตรกรในพื้นที่
2.ประชาชนได้รับการตรวจคัดกรองสารเคมี ครบ 100%
0
0
2. ให้เกษตรกรที่สัมผัสยาฆ่าแมลงปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ควบคู่กับการใช้รางจืด
วันที่ 25 กันยายน 2567 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
1.ให้เกษตรกรที่สัมผัสยาฆ่าแมลงที่มีความเสี่ยงปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
2.ให้ความรู้การรับประทานยาชงรางจืด
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
1.เกษตรกรที่มีความเสี่ยงได้รับการแนะนำในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมครบ 100%
2. เกษตรกรที่มีความเสี่ยงมีความรู้เกี่ยวกับการใช้ยาชงรางจืด 100%
0
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
1.เพื่อให้เกษตรกรที่ใช้สารเคมีได้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการใช้สารเคมีและการบริโภคที่ปลอดภัย
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 100 เกษตรกรที่ใช้สารเคมีได้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการใช้สารเคมีและการบริโภคปลอดภัย
100.00
100.00
2
เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและการป้องกันการเกิดโรคจากการประกอบอาชีพที่ถูกต้องตามมาตรฐาน
ตัวชี้วัด : เกษตรกรหมู่ที่ 2 และ 6 ต.ทุ่งนารี เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและการป้องกันการเกิดโรคจากการประกอบอาชีพที่ถูกต้องตามมาตรฐาน
80.00
80.00
3
เพื่อจัดทำทะเบียน เกษตรกรที่ใช้สารเคมี
ตัวชี้วัด : มีทะเบียน เกษตรกรที่ใช้สารเคมี หมู่ที่ 2 และ หมู่ที่ 6
100.00
100.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
100
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
100
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อให้เกษตรกรที่ใช้สารเคมีได้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการใช้สารเคมีและการบริโภคที่ปลอดภัย (2) เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและการป้องกันการเกิดโรคจากการประกอบอาชีพที่ถูกต้องตามมาตรฐาน (3) เพื่อจัดทำทะเบียน เกษตรกรที่ใช้สารเคมี
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ค้นหาเกษตรกรที่สัมผัสยาฆ่าแมลง และตรวจสารเคมีในร่างกายให้แก่เกษตรกร (2) ให้เกษตรกรที่สัมผัสยาฆ่าแมลงปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ควบคู่กับการใช้รางจืด
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการคัดกรองสารเคมีในเลือดเกษตรกร ในเขตรพ.สต.บ้านป่าบาก ปีงบประมาณ 2567 จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 2567-L3341-02-
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( 1.นางนี เลี่ยนกัตวา 2.นางเจริญ คงสม 3.นางอุดมวรรณ ทองอินทร์ 4.นางกัลยา สนธ์น้อย 5.นางดารา ทองอินทร์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการคัดกรองสารเคมีในเลือดเกษตรกร ในเขตรพ.สต.บ้านป่าบาก ปีงบประมาณ 2567 ”
ตำบลทุ่งนารี อำเภอป่าบอน จังหวัดพัทลุง
หัวหน้าโครงการ
1.นางนี เลี่ยนกัตวา 2.นางเจริญ คงสม 3.นางอุดมวรรณ ทองอินทร์ 4.นางกัลยา สนธ์น้อย 5.นางดารา ทองอินทร์
กันยายน 2567
ที่อยู่ ตำบลทุ่งนารี อำเภอป่าบอน จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 2567-L3341-02- เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2567
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการคัดกรองสารเคมีในเลือดเกษตรกร ในเขตรพ.สต.บ้านป่าบาก ปีงบประมาณ 2567 จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลทุ่งนารี อำเภอป่าบอน จังหวัดพัทลุง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งนารี ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการคัดกรองสารเคมีในเลือดเกษตรกร ในเขตรพ.สต.บ้านป่าบาก ปีงบประมาณ 2567
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการคัดกรองสารเคมีในเลือดเกษตรกร ในเขตรพ.สต.บ้านป่าบาก ปีงบประมาณ 2567 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลทุ่งนารี อำเภอป่าบอน จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 2567-L3341-02- ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 13,510.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งนารี เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
สารเคมีกำจัดศัตรูพืช สามารถทำอันตรายต่อสุขภาพร่างกายได้ทั้งมนุษย์ และสัตว์ กล่าวคือ จะไปทำลายอวัยวะภายในร่างกาย เช่น ตับ ไต ปอด สมองผิวหนัง ระบบประสาท ระบบสืบพันธุ์ และตาซึ่งก็ขึ้นอยู่กับว่าเราจะรับสารเคมีเข้าสู่ร่างกายทางใด และปริมาณมากน้อยเท่าใด ส่วนใหญ่แล้วการที่อวัยวะภายในร่างกายได้สะสมสารเคมีไว้จนถึงขีดที่ร่างกายไม่อาจทนได้จึงแสดงอาการต่างๆขึ้นมา เช่น โรคมะเร็ง โรคต่อมไร้ท่อ โรคเลือดและระบบภูมิคุ้มกันเป็นต้น บ้านทุ่งคลองควายหมู่ที่2 มีประชากรประกอบอาชีพเกษตรกรรมเป็นส่วนมาก ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 เกษตรกรมีการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืชเพิ่มขึ้น เนื่องจากรูปแบบการเกษตรเปลี่ยนแปลงไป จากเดิมรูปแบบการเกษตรทำเพื่อการบริโภคมาเป็นการเกษตรเศรษฐกิจเกษตรกรต้องการเพิ่มผลผลิตจึงจำเป็นต้องมีการใช้สารเคมีในการกระตุ้นการเจริญเติบโตประกอบกับมีการระบาดของศัตรูพืชจึงมีความจำเป็นต้องใช้สารเคมีในการกำจัดศัตรูพืชก็เพิ่มสูงขึ้น ซึ่งในการนำมาใช้นั้นได้มีการใช้อย่างไม่ถูกวิธีและขาดความรู้ จึงทำให้มีผลกระทบกับด้านสุขภาพโดยตรง
ดังนั้น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านป่าบาก จึงเล็งเห็นความสำคัญของสุขภาพที่มีความเสี่ยงในเขตพื้นที่รับผิดชอบ จึงได้จัดทำโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงที่มีระดับสารเคมีในเลือดสูง 2567 ขึ้นเพื่อให้เกษตรกรกลุ่มเสี่ยงในพื้นที่รับผิดชอบ ได้รับการตรวจสุขภาพและเจาะเลือดเพื่อดูว่ามีปริมาณสารเคมีตกค้างในกระแสเลือดอยู่ในระดับใดเพื่อทำการเฝ้าระวัง และปรับเปลี่ยนพฤติกรรม พร้อมให้รับประทานสมุนไพรรางจืดจัดเป็นยารสเย็นใช้ปรุงเป็นยาเขียวลดไข้ ถอนพิษผิดสำแดง และพิษอื่นๆ ใช้แก้ร้อนใน กระหายน้ำ สามารถลดพิษของสารกำจัดศัตรูพืชกลุ่มคาร์บอเนต เช่น เมโทรมิล เป็นต้น เพื่อที่จะได้ลดอัตราการป่วยจากโรคประกอบอาชีพ
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1.เพื่อให้เกษตรกรที่ใช้สารเคมีได้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการใช้สารเคมีและการบริโภคที่ปลอดภัย
- เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและการป้องกันการเกิดโรคจากการประกอบอาชีพที่ถูกต้องตามมาตรฐาน
- เพื่อจัดทำทะเบียน เกษตรกรที่ใช้สารเคมี
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ค้นหาเกษตรกรที่สัมผัสยาฆ่าแมลง และตรวจสารเคมีในร่างกายให้แก่เกษตรกร
- ให้เกษตรกรที่สัมผัสยาฆ่าแมลงปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ควบคู่กับการใช้รางจืด
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 100 | |
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ร้อยละ 100 ของเกษตรกร ที่มีปริมาณสารเคมีตกค้างในกระแสเลือดมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการใช้สารเคมีและการบริโภคที่ปลอดภัย
- ร้อยละ 100 เกษตรกรมีพฤติกรรมและการป้องกันการใช้สารเคมีที่ถูกต้อง
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. ค้นหาเกษตรกรที่สัมผัสยาฆ่าแมลง และตรวจสารเคมีในร่างกายให้แก่เกษตรกร |
||
วันที่ 20 กันยายน 2567 เวลา 08:30 น.กิจกรรมที่ทำ20/09/2567 - 25/09/2567 ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น1.มีทะเบียนรายชื่อเกษตรกรในพื้นที่ 2.ประชาชนได้รับการตรวจคัดกรองสารเคมี ครบ 100%
|
0 | 0 |
2. ให้เกษตรกรที่สัมผัสยาฆ่าแมลงปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ควบคู่กับการใช้รางจืด |
||
วันที่ 25 กันยายน 2567 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ1.ให้เกษตรกรที่สัมผัสยาฆ่าแมลงที่มีความเสี่ยงปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น1.เกษตรกรที่มีความเสี่ยงได้รับการแนะนำในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมครบ 100% 2. เกษตรกรที่มีความเสี่ยงมีความรู้เกี่ยวกับการใช้ยาชงรางจืด 100%
|
0 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | 1.เพื่อให้เกษตรกรที่ใช้สารเคมีได้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการใช้สารเคมีและการบริโภคที่ปลอดภัย ตัวชี้วัด : ร้อยละ 100 เกษตรกรที่ใช้สารเคมีได้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการใช้สารเคมีและการบริโภคปลอดภัย |
100.00 | 100.00 |
|
|
2 | เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและการป้องกันการเกิดโรคจากการประกอบอาชีพที่ถูกต้องตามมาตรฐาน ตัวชี้วัด : เกษตรกรหมู่ที่ 2 และ 6 ต.ทุ่งนารี เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและการป้องกันการเกิดโรคจากการประกอบอาชีพที่ถูกต้องตามมาตรฐาน |
80.00 | 80.00 |
|
|
3 | เพื่อจัดทำทะเบียน เกษตรกรที่ใช้สารเคมี ตัวชี้วัด : มีทะเบียน เกษตรกรที่ใช้สารเคมี หมู่ที่ 2 และ หมู่ที่ 6 |
100.00 | 100.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 100 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 100 | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อให้เกษตรกรที่ใช้สารเคมีได้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการใช้สารเคมีและการบริโภคที่ปลอดภัย (2) เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและการป้องกันการเกิดโรคจากการประกอบอาชีพที่ถูกต้องตามมาตรฐาน (3) เพื่อจัดทำทะเบียน เกษตรกรที่ใช้สารเคมี
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ค้นหาเกษตรกรที่สัมผัสยาฆ่าแมลง และตรวจสารเคมีในร่างกายให้แก่เกษตรกร (2) ให้เกษตรกรที่สัมผัสยาฆ่าแมลงปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ควบคู่กับการใช้รางจืด
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการคัดกรองสารเคมีในเลือดเกษตรกร ในเขตรพ.สต.บ้านป่าบาก ปีงบประมาณ 2567 จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 2567-L3341-02-
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( 1.นางนี เลี่ยนกัตวา 2.นางเจริญ คงสม 3.นางอุดมวรรณ ทองอินทร์ 4.นางกัลยา สนธ์น้อย 5.นางดารา ทองอินทร์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......