กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งนารี


“ โครงการครอบครัวรอบรู้สุขภาพและพัฒนาการเด็ก ปีงบประมาณ 2567 ”

ตำบลทุ่งนารี อำเภอป่าบอน จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
1.นายสมบัติ ช่อคง 2.นางนี เลี่ยนกัตวา 3.นางดารา ทองอินทร์ 4.นายวิเชียร จงรัตน์ 5.นางทัศนีย์ ดำชุม

ชื่อโครงการ โครงการครอบครัวรอบรู้สุขภาพและพัฒนาการเด็ก ปีงบประมาณ 2567

ที่อยู่ ตำบลทุ่งนารี อำเภอป่าบอน จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 2567-L3341 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการครอบครัวรอบรู้สุขภาพและพัฒนาการเด็ก ปีงบประมาณ 2567 จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลทุ่งนารี อำเภอป่าบอน จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งนารี ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการครอบครัวรอบรู้สุขภาพและพัฒนาการเด็ก ปีงบประมาณ 2567



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการครอบครัวรอบรู้สุขภาพและพัฒนาการเด็ก ปีงบประมาณ 2567 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลทุ่งนารี อำเภอป่าบอน จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 2567-L3341 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 13,725.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งนารี เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การพัฒนาประเทศชาติให้เจริญก้าวหน้าต้องเริ่มต้นจากการพัฒนาคน ซึ่งคนที่มีประสิทธิภาพต้องมีการมีการวางรากฐานที่ดีตั้งแต่อยู่ในครรภ์ คือมีการเตรียมความพร้อมตั้งแต่ตั้งครรภ์ มีการดูแลครรภ์อย่างมีคุณภาพ มีการคลอดที่ปลอดภัย และได้รับการอบรมเลี้ยงดูอย่างเหมาะสม มีการส่งเสริมพัฒนาการเด็กให้เหมาะสมตามวัยซึ่งการส่งเสริมพัฒนาการเด็กให้ได้ผลดีนั้น ต้องมีการส่งเสริมพัฒนาการและการเรียนรู้ผ่านการเล่น จากการศึกษาในหลายๆการศึกษาพบว่าการเล่นมีอิทธิพลต่อการเรียนรู้ และมีอิทธิพลต่อการพัฒนาเด็กในด้านต่างๆ เช่น ความคิด จินตนาการ ภาษาการเรียนรู้กฎระเบียบทางสังคม วัฒนธรรมการเล่นจะช่วยกระตุ้นการเรียนรู้ ความคิด การกล้าทดลองทำสิ่งใหม่ การแก้ไขปัญหาของเด็ก และช่วยในการพัฒนาจิตใจของเด็กให้เด็กรู้จักการอยู่ร่วมกับผู้อื่น และมีความสุขจากการเล่นซึ่งองค์ประกอบเหล่านี้ เป็นส่วนสำคัญของการส่งเสริมพัฒนาการและพัฒนาการบริหารสมองส่วนหน้า ให้รู้จัก “คิดเป็น ทำเป็น เรียนรู้ แก้ไขปัญหาเป็น อยู่กับผู้อื่นเป็น และมีความสุขเป็น”ดังนั้นการเล่นจึงเป็นสิ่งที่สำคัญสำหรับเด็กนอกจากจะทำให้เด็กผ่อนคลายความตึงเครียดแล้ว ยังช่วยให้การพัฒนาทักษะสมองส่วนหน้าซึ่งการทำให้เด็กมีทักษะทางสมองที่ดีได้ต้องผ่านการฝึกฝนซ้ำๆตลอดเวลา ผ่านกิจกรรมที่หลากหลาย พ่อแม่ ผู้ปกครองและคุณครูในศูนย์เด็กเล็กจึงจำเป็นต้องมีความรู้ในการส่งเสริมทักษะสมองเด็กอย่างถูกต้อง เหมาะสม เพื่อส่งเสริมพัฒนาการเด็กอย่างเหมาะสมตลอดช่วงวัย
จากการการศึกษาสถานการณ์พัฒนาการเด็ก และพฤติกรรมสุขภาพของครอบครัวด้านอนามัยแม่และเด็ก ปี 2565 พบ เด็ก 0-5 ปีพบพัฒนาการด้านภาษาสงสัยล่าช้ามากที่สุด และจากการศึกษายังพบว่าพ่อแม่ ผู้ปกครองส่วนใหญ่ยังขาดความรู้ความเข้าใจในการดูแลเด็ก จะพบว่าผู้ปกครองให้เด็กๆ ๐-๕ ปีให้เด็กได้ใช้สื่ออิเลคโทรนิคประเภท โทรทัศน์ โทรศัพท์มือถือ แทบเลต มากกว่าวันละ๑ ชม. ในขณะที่การใช้เวลาว่างในการทำกิจกรรมร่วมกับลูกได้แก่ เล่น วาดรูป ระบายสี ทำกิจกรรมนันทนาการต่างร่วมกับลูก อย่างน้อยครั้งละ ๓๐ นาที มีน้อยมาก แสดงให้เห็นว่าเด็กขาดโอกาสการเล่นกลางแจ้งรวมไปถึงการได้ออกกำลังกายหรือมีปฏิสัมพันธ์กับผู้อื่นลดลง ซึ่งส่งผลทำให้เด็กมีปัญหาภาวะโภชนาการไม่เหมาะสม โดยพบเด็กมีรูปร่างดีสมส่วนร้อยละ 66.53 และยังแสดงให้เห็นอย่างชัดเจนว่า พ่อแม่ผู้ปกครองขาดความรู้ในการอบรมเลี้ยงเด็กที่ถูกต้อง ซึ่งสอดคล้องกับการสำรวจระดับสติปัญญาเด็กนักเรียนไทยของกรมสุขภาพจิต ในปี 2564 ซึ่งพบว่า เด็กไทยในจังหวัดพัทลุง มีค่าเฉลี่ยระดับสติปัญญาเด็กนักเรียนไทย (IQ) เพียง 97.81
จากข้อมูลดังกล่าวข้างต้น รพ.สต.บ้านป่าบาก ได้ตระหนักและเห็นถึงความสำคัญดังกล่าว จึงจัดทำโครงการครอบครัวรอบรู้สุขภาพและพัฒนาการเด็ก เพื่อให้เด็ก 0-5 ปี ได้รับบริการส่งเสริมพัฒนาการ การเสริมสร้างระดับสติปัญญา ให้พ่อแม่ผู้ปกครองได้เรียนรู้ การส่งเสริมพัฒนาการและการเรียนรู้ของเด็กผ่านการเล่นต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อส่งเสริมสนับสนุนการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ให้กับประชาชน
  2. เพื่อให้เด็กปฐมวัยมีพัฒนาการ/โภชนาการสมวัย
  3. เพื่อให้ผู้ดูแลเด็กปฐมวัย มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการส่งเสริมพัฒนาการเด็ก/โภชนาการตามวัย
  4. เพื่อให้เด็กที่สงสัยพัฒนาการล่าช้า/พัฒนาการล่าช้า ได้รับการดูแลอย่างต่อเนื่องและเหมาะสม

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. จัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้เรื่องการส่งเสริมพัฒนาการและการเลี้ยงดูเด้กอย่างเหมาะสมแก่อสม./ผู้ดูแลเด็กปฐมวัย
  2. อสม. ติดตามประเมินพัฒนาการ/โภชนาการเด็กในเขตรับผิดชอบ
  3. ประเมินพัฒนาการเด็กที่มีอายุครบ 9,18,30,42,60 เดือน ทุกเดือน
  4. ประเมินภาวะโภชนาการเด็ก 0 - 5 ปี ทุก 3 เดือน
  5. จัดกิจกรรมกระตุ้นพัฒนาการในเด็กที่พัฒนาการล่าช้า
  6. ส่งต่อเด็กพัฒนาการล่าช้าพบแพทย์

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 165
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.เด็กที่มีพัฒนาการช้าร้อยละ100 ได้รับการฝึกกระตุ้นฯ และส่งเสริมพัฒนาการอย่างต่อเนื่อง 2.ผู้ปกครองเด็กมีความรู้ในเรื่องพัฒนาการเด็กและสามารถส่งเสริมพัฒนาการและการ เลี้ยงดูเด็กอย่างเหมาะสม


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อส่งเสริมสนับสนุนการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ให้กับประชาชน
ตัวชี้วัด : ส่งเสริมสนับสนุนการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ให้กับประชาชน ร้อยละ 100
165.00 165.00

 

2 เพื่อให้เด็กปฐมวัยมีพัฒนาการ/โภชนาการสมวัย
ตัวชี้วัด : เด็กปฐมวัยมีพัฒนาการ/โภชนาการสมวัย ร้อยละ 90
90.00 90.00

 

3 เพื่อให้ผู้ดูแลเด็กปฐมวัย มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการส่งเสริมพัฒนาการเด็ก/โภชนาการตามวัย
ตัวชี้วัด : ผู้ดูแลเด็กปฐมวัย มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการส่งเสริมพัฒนาการเด็ก/โภชนาการตามวัย
165.00 165.00

 

4 เพื่อให้เด็กที่สงสัยพัฒนาการล่าช้า/พัฒนาการล่าช้า ได้รับการดูแลอย่างต่อเนื่องและเหมาะสม
ตัวชี้วัด : เด็กที่สงสัยพัฒนาการล่าช้า/พัฒนาการล่าช้า ได้รับการดูแลอย่างต่อเนื่องและเหมาะสม
42.00 42.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 165
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 165
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริมสนับสนุนการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ให้กับประชาชน (2) เพื่อให้เด็กปฐมวัยมีพัฒนาการ/โภชนาการสมวัย (3) เพื่อให้ผู้ดูแลเด็กปฐมวัย มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการส่งเสริมพัฒนาการเด็ก/โภชนาการตามวัย (4) เพื่อให้เด็กที่สงสัยพัฒนาการล่าช้า/พัฒนาการล่าช้า ได้รับการดูแลอย่างต่อเนื่องและเหมาะสม

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้เรื่องการส่งเสริมพัฒนาการและการเลี้ยงดูเด้กอย่างเหมาะสมแก่อสม./ผู้ดูแลเด็กปฐมวัย (2) อสม. ติดตามประเมินพัฒนาการ/โภชนาการเด็กในเขตรับผิดชอบ (3) ประเมินพัฒนาการเด็กที่มีอายุครบ 9,18,30,42,60 เดือน ทุกเดือน (4) ประเมินภาวะโภชนาการเด็ก 0 - 5 ปี ทุก 3 เดือน (5) จัดกิจกรรมกระตุ้นพัฒนาการในเด็กที่พัฒนาการล่าช้า (6) ส่งต่อเด็กพัฒนาการล่าช้าพบแพทย์

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการครอบครัวรอบรู้สุขภาพและพัฒนาการเด็ก ปีงบประมาณ 2567 จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 2567-L3341

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( 1.นายสมบัติ ช่อคง 2.นางนี เลี่ยนกัตวา 3.นางดารา ทองอินทร์ 4.นายวิเชียร จงรัตน์ 5.นางทัศนีย์ ดำชุม )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด