กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.โต๊ะเด็ง


“ โครงการสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุตามหลักธรรมานามัย ปีงบประมาณ 2567 ”

ตำบลโต๊ะเด็ง อำเภอสุไหงปาดี จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นางสาวโนร์ฟาดีละห์ เจ๊ะแว

ชื่อโครงการ โครงการสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุตามหลักธรรมานามัย ปีงบประมาณ 2567

ที่อยู่ ตำบลโต๊ะเด็ง อำเภอสุไหงปาดี จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 67-L2539-01-12 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ธันวาคม 2566 ถึง 30 กันยายน 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุตามหลักธรรมานามัย ปีงบประมาณ 2567 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลโต๊ะเด็ง อำเภอสุไหงปาดี จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.โต๊ะเด็ง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุตามหลักธรรมานามัย ปีงบประมาณ 2567



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุตามหลักธรรมานามัย ปีงบประมาณ 2567 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลโต๊ะเด็ง อำเภอสุไหงปาดี จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 67-L2539-01-12 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ธันวาคม 2566 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 13,620.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.โต๊ะเด็ง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ประชากรผู้สูงอายุของประเทศไทยเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดยในปี 25666 ผู้สูงอายุในประเทศไทย มี 10 ล้านกว่าคน คิดเป็นร้อยละ 19.40 ของประชากรทั้งหมด 66 ล้านคน ประเทศไทยจึงนับได้ว่าได้ก้าวเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุแล้ว (Aging Society) ตามนิยามขององค์การสหประชาชาติที่กำหนดว่าประเทศที่มีประชากรอายุ 60 ปีขึ้นไปในสัดส่วนเกินร้อยละ 10 ของประชากรถือว่าประเทศนั้นได้ก้าวเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ จำเป็นที่ต้องมีนโยบายและมาตรการรองรับที่เหมาะสม และผลจากวิทยาการทางการแพทย์สมัยใหม่ สังคมและการศึกษาที่เจริญก้าวหน้า การใช้ชีวิต การรับประทานอาหารที่เหมาะสม และการเข้าถึงบริการสุขภาพที่ดีขึ้น ทำให้อายุคาดเฉลี่ยของคนไทยเพิ่มขึ้นทั้งหญิงและชายเป็น 78 และ 71 ปี ตามลำดับ การมีชีวิตยืนยาวขึ้นในช่วงอายุที่มีการเจ็บป่วยเพิ่มขึ้นเป็นลำดับนั้น ทำให้จำนวนปีที่คาดหวังว่าจะมีชีวิตอยู่อย่างมีสุขภาพดีจึงลดลงเป็นลำดับ ตามอายุของผู้สูงอายุที่เพิ่มขึ้น คุณภาพชีวิตลดลง การเปลี่ยนแปลงทางด้านร่างกายทำให้เสี่ยงต่อการเจ็บป่วยและความพิการ และที่มีความสำคัญเช่นกันคือ การเปลี่ยนแปลงด้าน จิตใจ อารมณ์ และสังคม การเปลี่ยนบทบาทจากผู้นำมาเป็นผู้ตามทำให้ผู้สูงอายุรู้สึกว่าตนเองมีคุณค่าลดลง การก้าวเข้าสู่วัยสูงอายุจึงต้องให้ความสำคัญในเรื่องการดูแลสุขภาพอนามัยที่เหมาะสมแบบเป็นองค์รวมอันจะส่งผลต่อการมีคุณภาพชีวิตที่ดี ทั้งนี้ การดูแลผู้สูงอายุเป็นภาระหน้าที่และความรับผิดชอบที่ทุกครอบครัว ตลอดจนชุมชน รวมถึงหน่วยงานภาครัฐที่มีบทบาทหน้าที่ความรับผิดชอบด้านผู้สูงอายุ ศาสตร์การดูแลรักษาสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทย สามารถนำมาใช้ดูแลสุขภาพผู้สูงอายุแบบองค์รวมตามหลักของธรรมานามัยคือ กายานามัย จิตตานามัย และชีวิตานามัย คือ กายานามัยเป็นหลักการป้องกันก่อนเจ็บป่วย เช่น การรับประทานอาหาร การใช้สมุนไพร การออกกำลังกายด้วยท่าบริหารฤาษีดัดตน เป็นต้น จิตตานามัยเป็นหลักการบริหารจิต ด้วยทาน ศีล ภาวนา ส่วนชีวิตานามัยเป็นหลักการดำเนินชีวิต ชอบเดินสายกลาง ตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง อยู่ในสิ่งแวดล้อมที่เหมาะสม และควรมีกิจกรรมเสริมคุณค่าให้ผู้สูงอายุสามารถแสดงออกถึงศักยภาพของตนเอง และเห็นความสำคัญของการช่วยเหลือผู้สูงอายุอื่นให้มีคุณภาพชีวิตที่ดี จึงควรมีการศึกษาว่าการดูแลสุขภาพแบบแผนไทยที่เหมาะสมกับผู้สูงอายุควรมีลักษณะเช่นไร สามารถนำมาพัฒนา เป็นหลักสูตรฝึกอบรมเพื่อสร้างเสริมสุขภาพของผู้สูงอายุให้มีคุณภาพชีวิตที่ดี เห็นคุณค่าในตนเอง และสามารถนำไปใช้ดูแลสุขภาพตนเองและผู้สูงอายุอื่นได้มากน้อยเพียงใด ทางโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านโต๊ะเด็ง ได้เล็งเห็นถึงความสำคัญดังกล่าว จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุตามหลักธรรมานามัย เพื่อให้ผู้สูงอายุมีความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพแบบองค์รวมตามหลักของแพทย์แผนไทยและสามารถปรับให้เข้ากับชีวิตประจำวันได้

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ผู้สูงอายุมีความรู้ด้านการดูแลสุขภาพด้านการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
  2. เพื่อศึกษาภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยที่สามรถนำมาใช้ในการสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ
  3. เพื่อประเมินผลการอบรมและเปรียบเทียบ ความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุด้วย

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. จัดอบรมให้ความรู้ในกลุ่มผู้สูงอายุตามหลักธรรมานามัย

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ 70
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

8.1 ผู้สูงอายุมีความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก 8.2 คุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุดีขึ้นหลังการจัดอบรม สามารถดูแลสุขภาพตนเอง มีความสุข สงบ และพอใจในชีวิต 8.3 ผู้สูงอายุรู้สึกเห็นคุณค่าในตนเอง รู้สึกมีคุณค่าเมื่อได้ช่วยเหลือผู้อื่น มีความสุขที่ได้ทำกิจกรรมร่วมกับผู้อื่น 8.4 ผู้สูงอายุสามารถเผยแพร่หรือช่วยเหลือผู้สูงอายุอื่นในชุมชน


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ผู้สูงอายุมีความรู้ด้านการดูแลสุขภาพด้านการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
ตัวชี้วัด :
0.00

 

2 เพื่อศึกษาภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยที่สามรถนำมาใช้ในการสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ
ตัวชี้วัด :
0.00

 

3 เพื่อประเมินผลการอบรมและเปรียบเทียบ ความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุด้วย
ตัวชี้วัด :
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 70
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ 70
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้สูงอายุมีความรู้ด้านการดูแลสุขภาพด้านการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก (2) เพื่อศึกษาภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยที่สามรถนำมาใช้ในการสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ (3) เพื่อประเมินผลการอบรมและเปรียบเทียบ ความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุด้วย

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดอบรมให้ความรู้ในกลุ่มผู้สูงอายุตามหลักธรรมานามัย

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุตามหลักธรรมานามัย ปีงบประมาณ 2567 จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 67-L2539-01-12

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวโนร์ฟาดีละห์ เจ๊ะแว )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด