กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลเมืองคลองแห


“ โครงการชุมชนวัดคลองแห สะอาดตา ไร้แหล่งเพาะพันธุ์เชื้อโรค ”

ตำบลคลองแห อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นายยุทธศักดิ์ ดวงสุวรรณ

ชื่อโครงการ โครงการชุมชนวัดคลองแห สะอาดตา ไร้แหล่งเพาะพันธุ์เชื้อโรค

ที่อยู่ ตำบลคลองแห อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ L7255-02-16 เลขที่ข้อตกลง 16/2567

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 25 มีนาคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการชุมชนวัดคลองแห สะอาดตา ไร้แหล่งเพาะพันธุ์เชื้อโรค จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลคลองแห อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลเมืองคลองแห ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการชุมชนวัดคลองแห สะอาดตา ไร้แหล่งเพาะพันธุ์เชื้อโรค



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการชุมชนวัดคลองแห สะอาดตา ไร้แหล่งเพาะพันธุ์เชื้อโรค " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลคลองแห อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ L7255-02-16 ระยะเวลาการดำเนินงาน 25 มีนาคม 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 39,300.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลเมืองคลองแห เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ประเทศไทยกำลังเผชิญกับปัญหาการกำจัดขยะที่นับวันจะทวีความรุนแรงขึ้นตลอดเวลา และยังไม่สามารถหาทางออกที่ดีได้ แม้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องจะพยายามหาวิธีการกำจัด และของเสียอันตรายจากบ้านเรือนเป็นปัญหาสำคัญ ครัวเรือนเป็นแหล่งกำเนิด ของของเสีย อันตรายจากชุมชนประมาณ 1 ใน 4 ของทั้งหมด ซึ่งจากปัญหาขยะดังกล่าวส่งผลให้เกิดปัญหาสุขภาพมากขึ้นเช่นกัน โรคภัยที่เกิดจากขยะมูลฝอยได้แก่ โรคระบบทางเดินอาหารโรคจากสัตว์แมลงนำโรค เช่น ไข้เลือดออก โรคจากการติดเชื้อ โรคภูมิแพ้ โรคปวดศีรษะคลื่นไส้และอาเจียนที่เกิดจากกลิ่นเน่า โรคมะเร็งเนื่องจากได้รับสารพิษต่อเนื่องเป็นระยะเวลานาน และผลกระทบต่อระบบต่าง ๆ ภายในร่างกาย ซึ่งปัจจุบันในชุมชนวัดคลองแห มีปริมาณขยะจากครัวเรือนเพิ่มมากขึ้น โดยมาจากการดำรงชีวิตของคนในชุมชน จะเห็นได้จากขยะมูลฝอยตามหมู่บ้าน มีอัตราเพิ่มขึ้น ซึ่งขยะบางชนิดไม่ย่อยสลาย และกำจัดได้ยาก เช่น กล่องโฟม ถุงพลาสติก ขวดพลาสติก ,ขยะอันตราย เช่นขยะอิเล็กทรอนิกส์ต่าง ๆ และขยะเปียกซึ่งก่อให้เกิดมลภาวะ เป็นแหล่งเพาะพันธุ์เชื้อโรคต่าง ๆ ตลอดจนเป็นปัญหาสิ่งแวดล้อม ส่งผลให้เกิดปัญหาด้านสุขภาพของคนในชุมชนประกอบกับในปี 2567 ตำบลคลองแหเป็นพื้นที่ที่มีอุบัติการณ์ของโรคไข้เลือดออกสูงเป็นลำดับต้นๆของจังหวัดสงขลา ดังนั้นเพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก หรือโรคที่เกิดจากขยะมูลฝอยของประชาชนในพื้นที่ จึงต้องมีการจัดการแหล่งขยะให้ถูกสุขลักษณะเพื่อความเป็นระเบียบเรียบร้อย ความปลอดภัย และการป้องกันโรคโดยการสร้างความเข้าใจ ความตระหนักของประชาชนภายใต้ความร่วมมือของชุมชนในการคัดแยก และกำจัดขยะอย่างจริงจัง นำไปสู่การป้องกันโรคภัยที่จะเกิดจากขยะได้

ชุมชนวัดคลองแห จึงมีความประสงค์จัดทำโครงการชุมชนวัดคลองแห สะอาดตา ไร้แหล่งเพาะพันธุ์เชื้อโรค โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อลดอัตราการเกิดโรคไข้เลือดออก โรคอุจจาระร่วง และอันตรายจากสัตว์มีพิษ พร้อมทั้งให้ประชาชนในชุมชนมีความรู้ ความเข้าใจ เรื่องการคัดแยกขยะประเภทต่างๆ ปัญหาที่เกิดจากการสะสมขยะ แนวทางการแก้ไขปัญหาด้านขยะเพื่อลดปริมาณขยะจากต้นทาง ส่งเสริมสภาพแวดล้อมที่ดี เป็นระเบียบของชุมชน ทั้งยังสามารถป้องกันการเป็นแหล่งของพาหะเชื้อโรคต่างๆในชุมชน

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อลดปริมาณขยะของครัวเรือนทั้งหมดในชุมชนต่อวัน
  2. เพื่อเพิ่มจำนวนกลุ่มหรือเครือข่ายการจัดการขยะในชุมชน
  3. เพื่อเพิ่มครัวเรือนที่ใช้วัสดุอย่างคุ้มค่าที่สุดก่อนทิ้ง (reuse)
  4. เพื่อเพิ่มครัวเรือนที่นำวัสดุใช้แล้วมาแปรรูปใช้ใหม่ (recycle)

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ประชุมวางแผนทำงานในการดำเนินกิจกรรม
  2. ประชาสัมพันธ์ส่งเสริมการคัดแยกขยะในชุมชน
  3. อบรมให้ความรู้เรื่องขยะ ปลอดโรค บ้านเรือนสะอาด ผู้อยู่อาศัยสุขภาพดี
  4. ติดตาม และประเมินผลโครงการ
  5. ประชุมสรุปการดำเนินโครงการและคืนข้อมูลให้ชุมชน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 50
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

ผู้เข้าร่วมโครงการเข้าใจการคัดแยกขยะอย่างถูกต้อง

ลดปริมาณขยะในชุมชน

ลดแหล่งเพาะพันธุ์เชื้อโรค และสัตว์อันตรายในชุมชน


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ประชุมวางแผนทำงานในการดำเนินกิจกรรม

วันที่ 29 มิถุนายน 2567 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมคณะกรรมการชุมชนวัดคลองแห

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มอบหมายหน้าที่รับผิดชอบ และเสนอการดำเนินงานโครงการ

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อลดปริมาณขยะของครัวเรือนทั้งหมดในชุมชนต่อวัน
ตัวชี้วัด : ปริมาณขยะของครัวเรือนทั้งหมดในชุมชนต่อวัน
200.00 180.00

 

2 เพื่อเพิ่มจำนวนกลุ่มหรือเครือข่ายการจัดการขยะในชุมชน
ตัวชี้วัด : จำนวนกลุ่มหรือเครือข่ายการจัดการขยะในชุมชน
2.00 4.00

 

3 เพื่อเพิ่มครัวเรือนที่ใช้วัสดุอย่างคุ้มค่าที่สุดก่อนทิ้ง (reuse)
ตัวชี้วัด : ร้อยละของครัวเรือนที่ใช้วัสดุอย่างคุ้มค่าที่สุดก่อนทิ้ง (reuse) เช่น การใช้ถุงพลาสติกซ้ำ ใช้ขวดน้ำซ้ำ ใช้กระดาษสองหน้า
12.30 25.00

 

4 เพื่อเพิ่มครัวเรือนที่นำวัสดุใช้แล้วมาแปรรูปใช้ใหม่ (recycle)
ตัวชี้วัด : ร้อยละของครัวเรือนที่นำวัสดุใช้แล้วมาแปรรูปใช้ใหม่ (recycle) เช่น นำเศษผ้ามาทำถุงผ้า ผ้าเช็ดเท้า
23.60 30.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 50
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 50
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อลดปริมาณขยะของครัวเรือนทั้งหมดในชุมชนต่อวัน (2) เพื่อเพิ่มจำนวนกลุ่มหรือเครือข่ายการจัดการขยะในชุมชน (3) เพื่อเพิ่มครัวเรือนที่ใช้วัสดุอย่างคุ้มค่าที่สุดก่อนทิ้ง (reuse) (4) เพื่อเพิ่มครัวเรือนที่นำวัสดุใช้แล้วมาแปรรูปใช้ใหม่ (recycle)

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมวางแผนทำงานในการดำเนินกิจกรรม (2) ประชาสัมพันธ์ส่งเสริมการคัดแยกขยะในชุมชน (3) อบรมให้ความรู้เรื่องขยะ ปลอดโรค บ้านเรือนสะอาด ผู้อยู่อาศัยสุขภาพดี (4) ติดตาม และประเมินผลโครงการ (5) ประชุมสรุปการดำเนินโครงการและคืนข้อมูลให้ชุมชน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการชุมชนวัดคลองแห สะอาดตา ไร้แหล่งเพาะพันธุ์เชื้อโรค จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ L7255-02-16

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายยุทธศักดิ์ ดวงสุวรรณ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด