โครงการสมุนไพรบำบัดเพื่อสุขภาพ ชุมชนวัดคลองแห
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการสมุนไพรบำบัดเพื่อสุขภาพ ชุมชนวัดคลองแห ”
ตำบลคลองแห อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นายยุทธศักดิ์ ดวงสุวรรณ
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลเมืองคลองแห
กันยายน 2567
ชื่อโครงการ โครงการสมุนไพรบำบัดเพื่อสุขภาพ ชุมชนวัดคลองแห
ที่อยู่ ตำบลคลองแห อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ L7255-02-17 เลขที่ข้อตกลง 17/2567
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 25 มีนาคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2567
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการสมุนไพรบำบัดเพื่อสุขภาพ ชุมชนวัดคลองแห จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลคลองแห อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลเมืองคลองแห ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการสมุนไพรบำบัดเพื่อสุขภาพ ชุมชนวัดคลองแห
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการสมุนไพรบำบัดเพื่อสุขภาพ ชุมชนวัดคลองแห " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลคลองแห อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ L7255-02-17 ระยะเวลาการดำเนินงาน 25 มีนาคม 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 80,150.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลเมืองคลองแห เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ในปัจจุบันปัญหาเรื่อวสุขภาพของประชาชนเป็นเรื่องสำคัญที่ประชาชนส่วนใหญ่มองข้ามและไม่ค่อยได้รับความสนใจ สาเหตุการเกิดโรคไม่ว่าด้วยสาเหตุใดๆ เช่น ความเจ็บป่วยจากการทำงานและการประกอบอาชีพ การทำสิ่งเดิมๆซ้ำๆทุกวัน เป็นต้น และในปัจจุบันการแพทย์ได้ให้ความสำคัญกับการดูแลสุขภาพของตัวเองด้วยวิถีไทยพื้นบ้านซึ่งเป็นการดูแลสุขภาพแบบโบราณของไทยและเป็นวิธีการที่กระทำได้โดยง่ายสามารถบรรเทาการเกิดโรคต่างๆที่เกิดจากการใช้ชีวิตปัจจุบัน เช่น การนั่ง การเดินการยืน เป็นระยะเวลานาน ทำให้เกิดอาการปวดข้อเท้าหรือเท้าบวม ปวดหลังอ่อนล้าของร่างกายเพียงบางวส่วน ซึ่งสิ่งที่เห็นได้ชัดและเป็นสาเหตุในการเกิดโรคหลายโรคตามมา ก็คือ อาการปวดเท้า เป็นตะคริว มือและเท้าชา ซึ่งอาการเหล่านี้จะนำไปสู่การเป็นกล้ามเนื้ออ่อนแรงได้ ที่สำคัญเท้าเป็นอวัยวะที่รับน้ำหนักในทุกอิริยาบถในชีวิตประจำวันอ แต่เราไม่ค่อยให้ความสำคัญในเรื่องเท้า
คณะกรรมการชุมชนวัดคลองแหตระหนักถึงปัญหาเหล่านี้ที่จะเกิดกับประชาชนในชุมชน หากไม่ได้รับการดูแลอาจะส่งผลเสียด้านสุขภาพแก่ประชาชนในชุมชนได้ ดังนั้นจึงได้จัดทำโครงการสมุนไพรบำบัดเพื่อสุขภาพ ชุมชนวัดคลองแห โดยขอรับงบประมาณสนับสนุนจากกองทุนฯ
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้ประชาชนได้มีความรู้ในการดูแลป้องกันโรคที่เกิดจากการดูแลชีวิตเป็นส่วนสำคัญของร่างกาย
- ผู้เข้าร่วมโครงการมีการแช่เท้าเพื่อผ่อนคลายด้วยสมุนไพร
- เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีการใช้ยาแก้ปวดลดลง
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ประชุมคณะทำงาน
- ประชาสัมพันธ์โครงการและรับสมัครสมาชิก
- อบรมเชิงปฏิบัติการสมุนไพรกับการป้องกันโรค
- กิจกรรมสมุนไพรบำบัดเพื่อสุขภาพ
- ประชุมสรุปโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
70
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้เรื่องการใช้สมุนไพรป้องกันโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (ความดันโลหิตสูง เบาหวาน ไขมัน )
2.ผู้เข้าร่วมโครงการมีกิจกรรมทางกายเพิ่มขึ้น
3.ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้เรื่องการทานอาหารเพื่อสุขภาพ โภชนาการที่เหมาะสมกับโรคและวัย
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. ประชุมคณะทำงาน
วันที่ 29 มิถุนายน 2567 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ประชุมคณะกรรมการชุมชนวัดคลองแห
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
มอบหมายหน้าที่รับผิดชอบ และเสนอการดำเนินงานโครงการ
0
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อให้ประชาชนได้มีความรู้ในการดูแลป้องกันโรคที่เกิดจากการดูแลชีวิตเป็นส่วนสำคัญของร่างกาย
ตัวชี้วัด : ประชาชนมีความรู้ในการป้องกันดูแลตัวเองด้วยการใช้สมุนไพร
60.00
72.00
2
ผู้เข้าร่วมโครงการมีการแช่เท้าเพื่อผ่อนคลายด้วยสมุนไพร
ตัวชี้วัด : ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับการแช่เท้าและมีอาการปวดเมื่อยเท้า ข้อเท้าลดลง
90.00
79.00
3
เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีการใช้ยาแก้ปวดลดลง
ตัวชี้วัด : การใช้ยาแก้ปวดลดลง
80.00
70.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
70
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
0
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
70
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
0
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ประชาชนได้มีความรู้ในการดูแลป้องกันโรคที่เกิดจากการดูแลชีวิตเป็นส่วนสำคัญของร่างกาย (2) ผู้เข้าร่วมโครงการมีการแช่เท้าเพื่อผ่อนคลายด้วยสมุนไพร (3) เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีการใช้ยาแก้ปวดลดลง
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมคณะทำงาน (2) ประชาสัมพันธ์โครงการและรับสมัครสมาชิก (3) อบรมเชิงปฏิบัติการสมุนไพรกับการป้องกันโรค (4) กิจกรรมสมุนไพรบำบัดเพื่อสุขภาพ (5) ประชุมสรุปโครงการ
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการสมุนไพรบำบัดเพื่อสุขภาพ ชุมชนวัดคลองแห จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ L7255-02-17
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายยุทธศักดิ์ ดวงสุวรรณ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการสมุนไพรบำบัดเพื่อสุขภาพ ชุมชนวัดคลองแห ”
ตำบลคลองแห อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นายยุทธศักดิ์ ดวงสุวรรณ
กันยายน 2567
ที่อยู่ ตำบลคลองแห อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ L7255-02-17 เลขที่ข้อตกลง 17/2567
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 25 มีนาคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2567
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการสมุนไพรบำบัดเพื่อสุขภาพ ชุมชนวัดคลองแห จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลคลองแห อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลเมืองคลองแห ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการสมุนไพรบำบัดเพื่อสุขภาพ ชุมชนวัดคลองแห
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการสมุนไพรบำบัดเพื่อสุขภาพ ชุมชนวัดคลองแห " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลคลองแห อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ L7255-02-17 ระยะเวลาการดำเนินงาน 25 มีนาคม 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 80,150.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลเมืองคลองแห เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ในปัจจุบันปัญหาเรื่อวสุขภาพของประชาชนเป็นเรื่องสำคัญที่ประชาชนส่วนใหญ่มองข้ามและไม่ค่อยได้รับความสนใจ สาเหตุการเกิดโรคไม่ว่าด้วยสาเหตุใดๆ เช่น ความเจ็บป่วยจากการทำงานและการประกอบอาชีพ การทำสิ่งเดิมๆซ้ำๆทุกวัน เป็นต้น และในปัจจุบันการแพทย์ได้ให้ความสำคัญกับการดูแลสุขภาพของตัวเองด้วยวิถีไทยพื้นบ้านซึ่งเป็นการดูแลสุขภาพแบบโบราณของไทยและเป็นวิธีการที่กระทำได้โดยง่ายสามารถบรรเทาการเกิดโรคต่างๆที่เกิดจากการใช้ชีวิตปัจจุบัน เช่น การนั่ง การเดินการยืน เป็นระยะเวลานาน ทำให้เกิดอาการปวดข้อเท้าหรือเท้าบวม ปวดหลังอ่อนล้าของร่างกายเพียงบางวส่วน ซึ่งสิ่งที่เห็นได้ชัดและเป็นสาเหตุในการเกิดโรคหลายโรคตามมา ก็คือ อาการปวดเท้า เป็นตะคริว มือและเท้าชา ซึ่งอาการเหล่านี้จะนำไปสู่การเป็นกล้ามเนื้ออ่อนแรงได้ ที่สำคัญเท้าเป็นอวัยวะที่รับน้ำหนักในทุกอิริยาบถในชีวิตประจำวันอ แต่เราไม่ค่อยให้ความสำคัญในเรื่องเท้า คณะกรรมการชุมชนวัดคลองแหตระหนักถึงปัญหาเหล่านี้ที่จะเกิดกับประชาชนในชุมชน หากไม่ได้รับการดูแลอาจะส่งผลเสียด้านสุขภาพแก่ประชาชนในชุมชนได้ ดังนั้นจึงได้จัดทำโครงการสมุนไพรบำบัดเพื่อสุขภาพ ชุมชนวัดคลองแห โดยขอรับงบประมาณสนับสนุนจากกองทุนฯ
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้ประชาชนได้มีความรู้ในการดูแลป้องกันโรคที่เกิดจากการดูแลชีวิตเป็นส่วนสำคัญของร่างกาย
- ผู้เข้าร่วมโครงการมีการแช่เท้าเพื่อผ่อนคลายด้วยสมุนไพร
- เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีการใช้ยาแก้ปวดลดลง
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ประชุมคณะทำงาน
- ประชาสัมพันธ์โครงการและรับสมัครสมาชิก
- อบรมเชิงปฏิบัติการสมุนไพรกับการป้องกันโรค
- กิจกรรมสมุนไพรบำบัดเพื่อสุขภาพ
- ประชุมสรุปโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | 70 | |
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้เรื่องการใช้สมุนไพรป้องกันโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (ความดันโลหิตสูง เบาหวาน ไขมัน ) 2.ผู้เข้าร่วมโครงการมีกิจกรรมทางกายเพิ่มขึ้น 3.ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้เรื่องการทานอาหารเพื่อสุขภาพ โภชนาการที่เหมาะสมกับโรคและวัย
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. ประชุมคณะทำงาน |
||
วันที่ 29 มิถุนายน 2567 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำประชุมคณะกรรมการชุมชนวัดคลองแห ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นมอบหมายหน้าที่รับผิดชอบ และเสนอการดำเนินงานโครงการ
|
0 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อให้ประชาชนได้มีความรู้ในการดูแลป้องกันโรคที่เกิดจากการดูแลชีวิตเป็นส่วนสำคัญของร่างกาย ตัวชี้วัด : ประชาชนมีความรู้ในการป้องกันดูแลตัวเองด้วยการใช้สมุนไพร |
60.00 | 72.00 |
|
|
2 | ผู้เข้าร่วมโครงการมีการแช่เท้าเพื่อผ่อนคลายด้วยสมุนไพร ตัวชี้วัด : ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับการแช่เท้าและมีอาการปวดเมื่อยเท้า ข้อเท้าลดลง |
90.00 | 79.00 |
|
|
3 | เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีการใช้ยาแก้ปวดลดลง ตัวชี้วัด : การใช้ยาแก้ปวดลดลง |
80.00 | 70.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 70 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 0 | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | 70 | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 0 | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ประชาชนได้มีความรู้ในการดูแลป้องกันโรคที่เกิดจากการดูแลชีวิตเป็นส่วนสำคัญของร่างกาย (2) ผู้เข้าร่วมโครงการมีการแช่เท้าเพื่อผ่อนคลายด้วยสมุนไพร (3) เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีการใช้ยาแก้ปวดลดลง
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมคณะทำงาน (2) ประชาสัมพันธ์โครงการและรับสมัครสมาชิก (3) อบรมเชิงปฏิบัติการสมุนไพรกับการป้องกันโรค (4) กิจกรรมสมุนไพรบำบัดเพื่อสุขภาพ (5) ประชุมสรุปโครงการ
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการสมุนไพรบำบัดเพื่อสุขภาพ ชุมชนวัดคลองแห จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ L7255-02-17
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายยุทธศักดิ์ ดวงสุวรรณ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......