กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมการดูแลสุขภาพจิตและสุขภาพกายแก่ผู้ต้องขังรักษาอาการทางจิตในเรือนจำกลางพัทลุง
รหัสโครงการ
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ เรือนจำกลางพัทลุง
วันที่อนุมัติ 21 มีนาคม 2567
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 4 เมษายน 2567 - 30 กันยายน 2567
กำหนดวันส่งรายงาน
งบประมาณ 6,500.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นายบัณฑิต ดำแม็ง
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานสุขภาพจิต
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 100 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 จำนวนผู้ต้องขังที่รักษาอาการทางจิตภายในเรือนจำกลางพัทลุง
100.00
2 เรือนจำกลางพัทลุงมีผู้ต้องขังที่รักษาอาการทางจิตเวช โดยจิตแพทย์ได้วินิจฉัยและให้การบำบัดรักษาด้วยยาและการบำบัดรักษาด้วยจิตบำบัดภายในเรือนจำ จำนวน 100 ราย ซึ่่งมีผู้ต้องขังปล่อยตัวและเข้าใหม่ทุกๆวัน
100.00

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

เรือนจำกลางพัทลุงเป็็นหน่วยงานกระทรวงยุติธรรม ทำหน้าที่ควบคุมผู้ต้องขังที่กระทำความผิด จากจำนวนผู้ต้องขังที่เข้ามาภายในเรือนจำส่วนหนึ่งเป็นผู้ต้องขังที่รักษาจิตเวชมาก่อนเข้าเรือนจำ และมีผู้ต้องขังที่มีอาการผิดปกติทางจิตมีพฤติกรรม อารมณ์ ความคิด ผิดปกติ วุ่นวาย ขณะความคุมตัว สถิติข้อมูลผู้ต้องขังที่รักษาบำบัดอาการทางจิตภายในเรือนจำ ตั้งแต่ปี 2565, 2566 ,2567 มีจำนวน 55,90,100 ราย สถานพยาบาลเรือนจำจึงขอจัดทำโครงการการส่งเสริมสุขภาพจิต และสุขภาพกายในการดูแลตนเองแก่ผู้ต้องขังในเรือนจำกลางพัทลุง เพื่อให้ผู้ต้องขังที่รักษาบำบัดอาการทางจิตมีความรู้ในการดูแลตนเองในด้านจิตใจและสุขภาพกาย และมีความเข้าใจในแนวทางการดูแลรักษาตนเอง ผ่อนคลายความตึงเครียด ลดอาการกำเริบกลับมาเป็นซ้ำ มีความมั่นใจในการกลับไปใช้ชีวิตอยู่ร่วมกับครอบครัว บุคคลอื่น และสังคมภายนอกได้ และลดการออกไปก่อคดีและเหตุการณ์ภายนอกที่มา่จากการขาดความรู้เรื่องการรับประทานยาบำบัดรักษาอาการทางจิต

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อให้ผู้ต้องขังที่รักษาอาการทางจิตไม่มีอาการกำเริบ

ร้อยละ 80

100.00 90.00
2 เพื่อให้ผู้ต้องขังรับประทานยาต่อเนื่อง และทานยาต่อเนื่องได้ถุกต้อง

ร้อยละ 80

100.00 90.00
3 เพื่อให้ผู้ต้องขังที่รักษาอาการทางจิตมีความรู้ในการดูแลสุขภาพกายและสุขภาพจิตได้อย่างถูกต้อง

ร้อยละ 80

100.00 90.00
4 เพื่อให้ผู้เข้าร่วมมีความรู้ในการเตียมความพร้อมก่อนพ้นโทษ

80

100.00 90.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 6,500.00 0 0.00
4 - 30 เม.ย. 67 ประชุมวางแผนการดำเนินงาน 0 100.00 -
1 - 31 พ.ค. 67 กิจกรรมคัดกรองสุขภาพจิตและสุขภาพกาย กลุ่มผู้ต้องขังที่รักษาอาการจิตเวช 0 640.00 -
1 - 30 มิ.ย. 67 อบรมให้ความรู้ เรื่อง รู้จักอาการของโรคทางจิตเวช และการดูแลสุขภาพจิตและสุขภาพกาย 0 2,490.00 -
30 มิ.ย. 67 อบรมให้ความรู้ เรื่อง เทคนิคการผ่อนคลายความเครียด เทคนิคการปรับเปลี่ยนความคิดและพฤติกรรม และกิจกรรมศิลปะบำบัด 0 3,270.00 -
1 - 31 ก.ค. 67 ติดตามผลหลังการดำเนินโครงการ 1 เดือน 0 0.00 -

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ผู้ต้องขังที่รัก่ษาอาการทางจิตไม่มีอาการทางจิตกำเริบ 2.ผู้ต้องขังที่เข้าร่วมมีความรู้ในการรับประทานยาจิตเวชที่ถูกต้อง 3.ผู้ต้องขังมีความรู้ในการดูแลสุขภาพจิตและสุขภาพกาย 4.ผูัต้องขังมีความพร้อมในก่อนปล่อยตัวพ้นโทษ ผู้เข้าร่วมอบรมสามารถนำความรู้ไปปฎิบัติใช้กับตนเองด้านการดูแลสุขภาพจิตและการดูแลสุขภาพกาย ลดอัตราอาการจิตเวชกำเริบ เพื่อเตรียมพร้อมก่อนปล่อยตัวพ้นโทษในการดูแลตนเอง

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 14 พ.ย. 2566 09:49 น.