กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

directions_run

โครงการสร้างกระแสสังคม คนบ่อแดงบริโภคอาหารสะอาดผลิตภัณฑ์สุขภาพปลอดภัย ร้านชำปลอดยาอันตราย ตำบลบ่อแดง อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา ปี2567

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนหลักประกันสุขภาพอบต.บ่อแดง


“ โครงการสร้างกระแสสังคม คนบ่อแดงบริโภคอาหารสะอาดผลิตภัณฑ์สุขภาพปลอดภัย ร้านชำปลอดยาอันตราย ตำบลบ่อแดง อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา ปี2567 ”

ตำบลบ่อแดง อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ่อแดง

ชื่อโครงการ โครงการสร้างกระแสสังคม คนบ่อแดงบริโภคอาหารสะอาดผลิตภัณฑ์สุขภาพปลอดภัย ร้านชำปลอดยาอันตราย ตำบลบ่อแดง อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา ปี2567

ที่อยู่ ตำบลบ่อแดง อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง 2/2567

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2023 ถึง 30 กันยายน 2024


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการสร้างกระแสสังคม คนบ่อแดงบริโภคอาหารสะอาดผลิตภัณฑ์สุขภาพปลอดภัย ร้านชำปลอดยาอันตราย ตำบลบ่อแดง อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา ปี2567 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบ่อแดง อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพอบต.บ่อแดง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการสร้างกระแสสังคม คนบ่อแดงบริโภคอาหารสะอาดผลิตภัณฑ์สุขภาพปลอดภัย ร้านชำปลอดยาอันตราย ตำบลบ่อแดง อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา ปี2567



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการสร้างกระแสสังคม คนบ่อแดงบริโภคอาหารสะอาดผลิตภัณฑ์สุขภาพปลอดภัย ร้านชำปลอดยาอันตราย ตำบลบ่อแดง อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา ปี2567 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบ่อแดง อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2023 - 30 กันยายน 2024 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 12,460.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพอบต.บ่อแดง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

อาหารเป็นปัจจัย ๔ ที่มีความจำเป็นต่อการดำรงชีวิตของมนุษย์เป็นอย่างยิ่ง การบริโภคอาหารที่สุกสะอาดและปลอดภัย ช่วยให้ร่างกายเจริญเติบโต ช่วยซ่อมแซมส่วนที่สึกหรอ และยังช่วยสร้างเสริมภูมิคุ้มกันอีกด้วย ในทางกลับกันการบริโภคอาหารที่ไม่สด สะอาด มีสารปนเปื้อนก็จะเป็นอันตรายแก่ผู้บริโภคได้ ทั้งนี้เพื่อให้การอุปโภคบริโภคอาหารที่สะอาดและผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ปลอดภัย ซึ่งหากไม่มีมาตรการป้องกันตั้งแต่ต้นทางอาจทำให้เกินอันตรายแก่ผู้อุปโภคได้ ซึ่งในการดำเนินงานดังกล่าว เป็นสิ่งสำคัญและจำเป็นอย่างยิ่ง ที่จะต้องมีกิจกรรม รณรงค์ให้ความรู้ แก่ผู้ประกอบการอาหาร แผงลอย ร้านชำ กลุ่มแม่บ้านประจำครัวเรือน นักเรียน อย.น้อยในโรงเรียน ครู ผู้ปรุงอาหารในโรงเรียนและศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก แกนนำอสม.และประชาชนทั่วไป ผ่านสื่อทุกรูปแบบซึ่งเป็นการสร้างกระแสด้านอาหารปลอดภัยในพื้นที่ เช่น โรงเรียน ศูนย์พัฒนาเต็กเล็ก ตลาด ร้านอาหารแผงลอยร้านชำ ให้กลุ่มเป้าหมายที่เกี่ยวข้องกับอาหารในตำบลบ่อแดง ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมปฏิบัติตนอย่างถูกต้องต่อไป     จากผลการตรวจร้านอาหาร/แผงลอย/แผงจำหน่ายน้ำและน้ำแข็ง ร้านขายของชำ ร้านขายเครื่องสำอาง และสถานที่ผลิตอาหาร ของตำบลบ่อแดง อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา ปี ๒๕๖๖ ผลปรากฎว่าตรวจร้านขายของชำ ๑๕ ร้าน พบมีการจำหน่ายยาชุดและยาอันตราย ๒ ร้าน คิดเป็นร้อยละ ๑๓.๓๓ พบมีการจำหน่ายเครื่องสำอางที่กระทรวงสาธารณสุขประกาศห้ามขาย จำนวน ๒ ร้าน จากทั้งหมด ๑๕ ร้าน คิดเป็นร้อยละ๑๓.๓๓ ตรวจความปลอดภัยด้านอาหารร้านแผงลอยจำหน่ายอาหารปรุงสุกด้วยชุดทดสอบ SI๒ จำนวน ๑๐ ร้าน พบมีสิ่งปนเปื้อน ๒ ร้าน คิดเป็นร้อยละ ๒๐.๐๐   ดังนั้นโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ่อแดง จึงจัดทำโครงการ "สร้างกระแสสังคม คนบ่อแดงบริโภค อาหารสะอาด ผลิตภัณฑ์สุขภาพปลอดภัย ร้านชำปลอดยาอันตราย ตำบลบ่อแดง อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา ปี ๒๕๖๗" ขึ้น เพื่อให้การดำเนินงานอาหารปลอดภัยสำเร็จลุล่วงตามวัตถุประสงค์ต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ๑.ร้านอาหาร/แผงลอย จำหน่ายอาหารปรุงสำเร็จ ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน CFGT ๒.ร้าน/แผงลอยจำหน่าย อาหารสด ไม่พบขาย อาหารที่มีสารปนเปื้อน 3.ร้านขำจำหน่ายสามัญ ประจำบ้าน เครื่องสำอาง และผลิตภัณฑ์ สุขภาพที่ปลอดภัยและได้ มาตรฐาน ๔.โรงอาหารของศูนย์ พัฒนาเด็กเล็กและ โรงเรียน ตรวจแนะนำจาก เจ้าหน้าที่ ๕.ผู้ป่วยเรื้อรังที่ใช้ยา สมุนไพรและยาแผน โบราณได้รับการเยี่ยมบ้าน ๖.ครูและนักเรียนเข้าร่วม กิจกรรม ด้านอาหารปลอดภัย ร่วมกับรถ Mobile ของจังหวัด

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 6
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 12
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1.ร้านอาหาร/แผงลอยจำหน่ายอาหารปรุงสำเร็จ ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน CFGT ร้อยละ95 2.ร้านอาหาร/แผงลอยจำหน่ายอาหารสด ตรวจพบสารปนเปื้อนในอาหารไม่เกินร้อยละ 10 3.ร้านชำจำหน่ายผลิตภัณฑ์สุขภาพ เครื่องสำอาง และยาสามัญประจำบ้านที่ปลอดภัยและได้มาตรฐาน ร้อยละ80 4.โรงอาหารของศูนย์พัฒนา่เด็กเล็กและโรงเรียนได้รับการตรวจแนะนำจากเจ้าหน้าที่ 5.เยี่ยมบ้านผู้ป่วยเรื้อรังพบการใช้ยาสมุนไพรและยาแผนโบราณที่ไม่ปลอดภัย


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 ๑.ร้านอาหาร/แผงลอย จำหน่ายอาหารปรุงสำเร็จ ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน CFGT ๒.ร้าน/แผงลอยจำหน่าย อาหารสด ไม่พบขาย อาหารที่มีสารปนเปื้อน 3.ร้านขำจำหน่ายสามัญ ประจำบ้าน เครื่องสำอาง และผลิตภัณฑ์ สุขภาพที่ปลอดภัยและได้ มาตรฐาน ๔.โรงอาหารของศูนย์ พัฒนาเด็กเล็กและ โรงเรียน ตรวจแนะนำจาก เจ้าหน้าที่ ๕.ผู้ป่วยเรื้อรังที่ใช้ยา สมุนไพรและยาแผน โบราณได้รับการเยี่ยมบ้าน ๖.ครูและนักเรียนเข้าร่วม กิจกรรม ด้านอาหารปลอดภัย ร่วมกับรถ Mobile ของจังหวัด
    ตัวชี้วัด : ร้านอาหาร/แผงลอยจำหน่ายอาหารปรุงสำเร็จรูปผ่านเกณฑ์มาตรฐาน CFGH ร้อยละ๙๕ -ร้านอาหาร/แผงลอยจำหน่ายอาหารสุด ตรวจพบสารปนเปื้อนในอาหารไม่เกินร้อยละ ๑๐ -ร้านชำจำหน่ายผลิตภัณฑ์สุขภาพ เครื่องสำอางและยาสามัญประจำบ้านที่ปลอดภัยและได้มาตรฐาน ร้อยละ ๘๐ -โรงอาหารศูนย์พัฒนาเด็กเล็กและโรงเรียน ตรวจแนะนำจากเจ้าหน้าที่ ร้อยละ ๑๐๐ -ผู้ป่วยเรื้อรังที่ใช้ยาสมุนไพรและยาแผนโบราณได้รับการเยี่ยมบ้านร้ยละ ๙๐ -ครูและนักเรียนเข้าร่วมกิจกรรมด้านอาหารปลอดภัย ร้อยละ๑๐๐

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 18
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 6
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 12
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ๑.ร้านอาหาร/แผงลอย จำหน่ายอาหารปรุงสำเร็จ ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน CFGT  ๒.ร้าน/แผงลอยจำหน่าย อาหารสด ไม่พบขาย อาหารที่มีสารปนเปื้อน 3.ร้านขำจำหน่ายสามัญ ประจำบ้าน เครื่องสำอาง และผลิตภัณฑ์ สุขภาพที่ปลอดภัยและได้ มาตรฐาน ๔.โรงอาหารของศูนย์ พัฒนาเด็กเล็กและ โรงเรียน ตรวจแนะนำจาก เจ้าหน้าที่ ๕.ผู้ป่วยเรื้อรังที่ใช้ยา สมุนไพรและยาแผน โบราณได้รับการเยี่ยมบ้าน ๖.ครูและนักเรียนเข้าร่วม กิจกรรม ด้านอาหารปลอดภัย ร่วมกับรถ Mobile ของจังหวัด

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการสร้างกระแสสังคม คนบ่อแดงบริโภคอาหารสะอาดผลิตภัณฑ์สุขภาพปลอดภัย ร้านชำปลอดยาอันตราย ตำบลบ่อแดง อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา ปี2567 จังหวัด สงขลา

    รหัสโครงการ

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ่อแดง )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด