กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนหลักประกันสุขภาพอบต.บ่อแดง


“ โครงการเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกโดยการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่าย ตำบลบ่อแดง อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลาปี2567 ”

ตำบลบ่อแดง อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ่อแดง

ชื่อโครงการ โครงการเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกโดยการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่าย ตำบลบ่อแดง อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลาปี2567

ที่อยู่ ตำบลบ่อแดง อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง 3/2567

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2566 ถึง 31 สิงหาคม 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกโดยการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่าย ตำบลบ่อแดง อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลาปี2567 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบ่อแดง อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพอบต.บ่อแดง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกโดยการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่าย ตำบลบ่อแดง อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลาปี2567



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกโดยการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่าย ตำบลบ่อแดง อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลาปี2567 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบ่อแดง อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2566 - 31 สิงหาคม 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 39,713.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพอบต.บ่อแดง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคไข้เลือดออกเป็นโรคติดต่อที่สำคัญซึ่งมีการแพร่ระบาดของโรคในทุกภาคของประเทศ มีแนวโน้มใน การระบาดถี่ขึ้นและมีความรุนแรงมากขึ้น จากการระบาดของโรค ปีเว้นสองปี หรือ ปีเว้นปี ปัจจุบันมีการระบาด ของโรคเป็นประจำทุกปี โดยพบผู้ป่วยได้ในทุกฤดูกาล โรคไช้เสือดออกจึงเป็นปัญหาระดับประเทศ ในแต่ละบิมี ตายเป็นจำนวนมากส่งผลกระทบต่อระบบเศรษฐกิจและสังคม รัฐบาลจึงได้เล็งเห็นความสำ ปัญหาโรคไข้เลือดออกมากำหนดเป็นนโยบายหลักในการดำเนินงาน โดยที่สถานบริการสุขภาพทุกแห่งจะต้อง ร่วมมือกับองค์กรชุมชนต่างๆดำเนินการป้องกันและควบคุมโรค์ใช้เลือดออกให้ครอบคลุมทุกพื้นที่อย่างต่อเนื่อง การป้องกันโรคไข้เลือดออกนั้น จำเป็นต้องได้รับความร่วมมือจากทุกฝ่ายไม่ว่าจะเป็น อสม. อปท. ผู้นำชุมชน ครู และนักเรียน รวมทั้งประชาชนในพื้นที่ในการกำจัดยงลายที่เป็นพาหะนำโรค โดยไต้ดำเนินการอย่างต่อเนื่องทุก โดยเน้นให้ อสม. ร่วมกับผู้นำชุมชนดำเนินการอย่างต่อเนื่อง แต่ยังไม่ได้ผลเท่าที่ควร เนื่องจากผู้นำชุมชนไม่ให้ ความสำคัญและไม่เป็นตัวอย่างในการกำจัดลูกน้ำยุงลาย สม.ขาดการดำเนินงานอย่างต่อเนื่อง นักเรียนมีการ กำจัดลูกน้ำยุงลายเป็นช่วงๆขาดความสม่ำเสมอ ประชาชนขาดความร่วมมือในการควบคุมลูกน้ำยุงลายใน บ้านเรือนตนเอง ไม่เห็นความสำคัญของการกำจัดถูกน้ำยุงลาย เพราะถือเป็นบทบาทของ อสม.และเจ้าหน้าที่ สาธารณสุข จากข้อมูล ปี ๒๕๖๖ ประเทศไทยมีผู้ป่วยจำนวน ๓๔,๓๒๓ ราย (อัตราป่วย ๖๖.๙๗ ต่อแสน ประชากร) จำนวนผู้เสียชีวิต ๒๙' ราย (อัตราปวยตาย ร้อยละ 0.0๗) ผู้ป่วยเขตสุขภาพที่ ๑๒ จำนวนผู้ป่วย ๓๔๕๒ ราย (อัตราป่วย ๖๔.๒๒ ต่อแสนประชากร) เสียชีวิต ๔ ราย ส่วนผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกจังหวัดสงขลาข้อมู ลจากสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสงขลา จะเห็นว่า สถานการณ์โรคไข้เลือดออก พ.ศ. ๒๕๖๖ (วันที่ ๑ มกราคม -๓๐ กันยายน ๒๕๖๖) จากระบบรายงานการเฝ้าระวังโรค ๕0๖ กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ พบผู้ป่วยโรค ไข้เลือดออกสะสม ๒,๔๙๕ ราย อัตราป่วย ๔๔.๘๙ ต่อแสนประซากร เสียชีวิต จำนวน ๓ ราย จำนวนผู้ป่วยสะสม มากกว่าปีที่ผ่านมาและสูงกว่าคำามัธยฐานย้อนหลัง 4 ปี จากช้อมูลผู้ป่วยโรคไช้เสือดออกอำเภอสพิงพระจำนวน ๑๑6 ราย ไม่พบผู้เสียชีวิต และผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ่อแดง ย้อนหลัง ๕ 'ปี ตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๕๖๒- พ.ศ. 6๕๖๖ พบจำนวนผู้ป่วยไข้เลือดออกจำนวนทั้งสิ้น ๒๖ ราย ไม่พบผู้ป่วยเสียชีวิต โดย แยกผู้ป่วยเป็นรายปีดังนี้ ในปี พ.ศ.๒๕๖๒ มีจำนวนผู้ป่วยทั้งหมด ๕ ราย คิดเป็นอัตราป่วย ㆍ.๐๐๘ ต่อประขากร แสนคน ปีท.ศ.๒๕๖๓ พบผู้ป่วย 6 ราย ปีพ.ศ.๒๕๖๔ พบผู้ป่วย 0 ราย ปีพ.ศ.๒๕๖๕ พบผู้ป่วย 0 ราย และปีพ.ศ. ๒๕๖๖ พบผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกในตำบลบ่อแดง จำนวน ๑๔ ราย ไม่พบผู้เสียชีวิต ผู้ป่วยเป็นเพศหญิง ๑๕ ราย คิดเป็นร้อยละ ๗๘.๙๔ เพศชาย ๔ ราย คิดเป็นร้อยละ ๒๑.๐- อัตราป่วยสูงสุดในกลุ่มอายุ ๕ -๓๕ ปี รองลงมา ได้แก่ อายุ ๓๖ - ๖๐ ปี และ อายุ ㆍ - ๕ ปี ตามลำดับ แต่อย่างไรก็ตามประชากรยังมีการเดินทางไปต่างพื้นที่ ตลอดเวลา ประกอบกับสภาวะภูมิอากาสสิ่งแวดล้อมในพื้นที่เอื้อต่อการเกิดโรค หากไม่มีการควบคุมป้องกันโรค อย่างมีประสิทธิภาพและต่อเนื่อง ส่งผลให้ตำบลบ่อแดงมีแนวโน้มการระบาดของโรคเพิ่มขึ้น ดังนั้นเป็นการยากที่จะดำเนินการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกได้อย่างมีประสิทธิภาพ หากจะ อาศัยเพียงแต่เจ้าหน้าที่สาธารณสุขเพียงอย่างเดียว เนื่องจากแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายมีอยู่ทั่วไปทั้งในชุมชนและใน โรงเรียน ดังนั้นการที่จะป้องกันและควบคุมโรคให้ได้ผลเต็มที่ จึงต้องอาศัยการมีส่วนร่วมของผู้นำชุมชน อสม. โรงเรียนและทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องทางโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ่อแดง ได้เห็นถึงความสำคัญและตระหนัก ถึงปัญหาของโรคไข้เลือดออก จึงได้ดำเนินการจัดทำโครงการเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกโดยการ มีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายในชุมชน

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อให้อัตราการป่วยด้วยโรค ไข้เลือดออกในพื้นที่ตำบลบ่อแดง ลดลงเมื่อเทียบกับค่า MEDIAN ย้อนหลัง ๕ ปี ๒.เพื่อเพิ่มความครอบคลุมของ การรณรงค์กำจัดลูกน้ำยุงลาย ในสถานที่สาธารณะและในชุมชน ๓.เพื่อลดความชุกชุมของลูกน้ำ ยุงลายในสถานที่สาธารณะและใน ชุมชน ๔.เพื่อให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง องค์กร ชุมชน และประชาชน ทั่วไปมีส่วนร่วมในการป้องกันและ ควบคุมไข้เลือดออก

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 1,242
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    ภาคีเครือข่าย อบต. อสม. วัด โรงเรียน ศพด. และประชาชนทั่วไป มีส่วนร่วมในการเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกโดยการกำจัดทำลายแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลายในสถานที่สารารณะและในชุมชนครอบคลุมร้อยละ ๑๐๐ ทำให้อัตราความชุกขุมของลูกน้ำยุงลายลดลงอย่างต่อเนื่อง ส่งผลให้อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกลดลงทุกปี จนเกิดเป็นหมู่บ้าน/ตำบลปลอดไข้เลือดออกอย่างยั่งยืน


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1.เพื่อให้อัตราการป่วยด้วยโรค ไข้เลือดออกในพื้นที่ตำบลบ่อแดง ลดลงเมื่อเทียบกับค่า MEDIAN ย้อนหลัง ๕ ปี ๒.เพื่อเพิ่มความครอบคลุมของ การรณรงค์กำจัดลูกน้ำยุงลาย ในสถานที่สาธารณะและในชุมชน ๓.เพื่อลดความชุกชุมของลูกน้ำ ยุงลายในสถานที่สาธารณะและใน ชุมชน ๔.เพื่อให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง องค์กร ชุมชน และประชาชน ทั่วไปมีส่วนร่วมในการป้องกันและ ควบคุมไข้เลือดออก
    ตัวชี้วัด : ๑.อัตราการป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกลดลงร้อยละ ๓๐ ของค่ามัธยฐานย้อนหลัง ๕ ปี ๒.สามารถควบคุมโรคไข้เลือดออกได้ทุกหมู่บ้านและไมมีผู้ป่วยเกิดขึ้นหลังจากเกิดโรคไข้เลือดออกรายแรกก่อนหน้านี้แล้ว ๒๘ วัน ๓.ค่า HI CI .ในชุมชน วัดโรงเรียนและสถานที่ราชการไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน ๔.หน่วยงานในชุมชน เช่น วัด โรงเรียน ศพด. อบต. และประชาชนป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกได้ ร้อยละ ๑๐๐

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 1242
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 1,242
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อให้อัตราการป่วยด้วยโรค ไข้เลือดออกในพื้นที่ตำบลบ่อแดง ลดลงเมื่อเทียบกับค่า MEDIAN ย้อนหลัง ๕ ปี ๒.เพื่อเพิ่มความครอบคลุมของ การรณรงค์กำจัดลูกน้ำยุงลาย ในสถานที่สาธารณะและในชุมชน ๓.เพื่อลดความชุกชุมของลูกน้ำ ยุงลายในสถานที่สาธารณะและใน ชุมชน ๔.เพื่อให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง องค์กร ชุมชน และประชาชน ทั่วไปมีส่วนร่วมในการป้องกันและ ควบคุมไข้เลือดออก

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกโดยการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่าย ตำบลบ่อแดง อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลาปี2567 จังหวัด สงขลา

    รหัสโครงการ

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ่อแดง )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด