กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก


“ โครงการ Save Your Life รู้ไว รู้มาก พิชิต NCDs ชุมชนเจริญทรัพย์ ปีงบประมาณ 2567 ”

ชุมชนเจริญทรัพย์ เทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก

หัวหน้าโครงการ
นางสาวอาดีลาห์ เจ๊ะอาแว

ชื่อโครงการ โครงการ Save Your Life รู้ไว รู้มาก พิชิต NCDs ชุมชนเจริญทรัพย์ ปีงบประมาณ 2567

ที่อยู่ ชุมชนเจริญทรัพย์ เทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก จังหวัด

รหัสโครงการ 67-L6961-1-02 เลขที่ข้อตกลง 13/2567

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กุมภาพันธ์ 2567 ถึง 30 กันยายน 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการ Save Your Life รู้ไว รู้มาก พิชิต NCDs ชุมชนเจริญทรัพย์ ปีงบประมาณ 2567 จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ชุมชนเจริญทรัพย์ เทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการ Save Your Life รู้ไว รู้มาก พิชิต NCDs ชุมชนเจริญทรัพย์ ปีงบประมาณ 2567



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการ Save Your Life รู้ไว รู้มาก พิชิต NCDs ชุมชนเจริญทรัพย์ ปีงบประมาณ 2567 " ดำเนินการในพื้นที่ ชุมชนเจริญทรัพย์ เทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก รหัสโครงการ 67-L6961-1-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กุมภาพันธ์ 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 39,800.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 100 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

กลุ่มโรค NCDs (non-communicable diseases) เป็นกลุ่มโรคไม่ติดต่อเรื้อรังไม่ได้เกิดจากเชื้อโรคและไม่สามารถแพร่กระจายจากคนสู่คนได้ แต่เป็นโรคที่เกิดจากนิสัยหรือพฤติกรรมการดำเนินชีวิต ซึ่งจะมีการดำเนินโรคอย่างช้า ๆ ค่อย ๆ สะสมอาการอย่างต่อเนื่อง และเมื่อมีอาการของโรคแล้วมักจะเกิดการเรื้อรังของโรคด้วย จึงอาจจัดว่าโรค NCDs เป็นกลุ่มโรคเรื้อรังได้ได้แก่ โรคทางระบบหัวใจและหลอดเลือด เช่น โรคความดันโลหิตสูง โรคหลอดเลือดหัวใจ โรคหลอดเลือดสมองโรคเบาหวาน โรคมะเร็งต่าง ๆ โรคระบบทางเดินหายใจเรื้อรัง เช่น โรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง ถุงลมโป่งพอง และโรคอ้วนลงพุง ปัจจุบันเศรษฐกิจและสังคมของประเทศไทยมีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ส่งผลต่อการดำเนินชีวิตของประชาชน สังคมไทยมีความซับซ้อนในการดำรงชีวิต ด้วยข้อมูลข่าวสารด้านสุขภาพที่หลากหลาย และระบบสุขภาพที่มีความซับซ้อน มีการแข่งขันสร้างความมั่นคงให้แก่ครอบครัว นิยมวัฒนธรรมตะวันตกมากขึ้น จึงทำให้วิถีชีวิตมีการเปลี่ยนแปลง เช่น การเร่งรีบกับการทำงาน บริโภคอาหารโดยไม่ได้คำนึงถึงคุณค่าทางโภชนาการ มีการเคลื่อนไหวร่างกายน้อยลง ขาดการออกกำลังกาย เครียด ทำให้มีโอกาสเสี่ยงต่อการเจ็บป่วยด้วยโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง และโรคหลอดเลือดสมอง ซึ่งเป็นปัญหาสำคัญทางด้านสาธารณสุข เป็นกลุ่มโรคที่มีปัจจัยสาเหตุการนำสู่โรคจากปัจจัยเสี่ยงร่วม และเสียชีวิตก่อนวัยอันควร ซึ่งโรคนี้สามารถป้องกันได้โดยการ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เช่น การรับประทานอาหารตามหลักโภชนาการ และมีกิจกรรมทางกายที่เหมาะสม การพัฒนาสมรรถนะให้ประชาชนมีความรอบรู้ด้านสุขภาพ (health literacy) จึงเป็นประเด็นที่มีความท้าทาย เพื่อเพิ่มความสามารถของประชาชนให้สามารถควบคุม ดูแล และพัฒนาสุขภาพของตนเอง ครอบครัว และชุมชน บรรลุสุขภาพที่สมบูรณ์ทั้งทางร่างกาย จิตใจ และสังคม สอดคล้องกับนโยบายของรัฐบาลด้านการสร้างสุขภาพด้วยหลัก ๓อ. ๒ส. จากข้อมูลการคัดกรองกลุ่มเสี่ยงโรคเรื้อรัง 3 ปี ย้อนหลัง ตั้งแต่ปี 2564 - 2566 ร้อยละ 90.07 ,92.07และ 92.95พบว่า ผลการคัดกรองประชากรอายุ 35 ปีขึ้นไปที่ได้รับการคัดกรองเพื่อวินิจฉัยเบาหวานในเขตรับผิดชอบของศูนย์แพทย์ใกล้ใจ 1 คัดกรองโรคเบาหวาน พบเสี่ยงสูงประชากรสงสัยป่วยโรคเบาหวานได้รับการตรวจยืนยันรายใหม่ จำนวน 31 ราย ร้อยละ 35.48 ส่วนผลการคัดกรองประชากรอายุ 35 ปีขึ้นไปที่ได้รับการคัดกรองเพื่อวินิจฉัยความดันโลหิตสูง ในเขตรับผิดชอบของศูนย์แพทย์ใกล้ใจ 1 คัดกรองโรคเบาหวาน พบเสี่ยงสูงประชากรสงสัยป่วยโรคความดันโลหิตสูงได้รับการตรวจยืนยันรายใหม่ จำนวน 45 ราย ร้อยละ 20.00 มารับการตรวจรักษาและรับยาที่ศูนย์ใกล้ใจ 1 จำนวน 100 ราย/สัปดาห์ (ในวันคลินิกเบาหวานและความดันโลหิตสูง) โรงพยาบาลสุไหงโก-ลกได้ตระหนักถึงการเปิดโอกาสในการสร้างสุขภาวะของประชาชนในทุกกลุ่มเป้าหมาย โดยนำการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพลดโรค ๓อ. ๒ส. เพื่อให้ประชาชนในกลุ่มดังกล่าวมีสุขภาวะที่ดีจึงได้ให้ความสำคัญในการส่งเสริม ป้องกันและควบคุมโรค โดยมุ่งเน้นการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายเพื่อสอดคล้องกับปัญหาในพื้นที่ เพื่อให้ประชาชนมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นเป็นประโยชน์ต่อผู้ที่มีพฤติกรรมเสี่ยงต่อการเกิดโรคเรื้อรังทุกกลุ่ม การสร้างสุขภาพที่ดีให้กับประชาชนทุกกลุ่ม เปิดโอกาสแลกเปลี่ยนวิถีด้านสุขภาวะและพฤติกรรมสุขภาพที่ดี ส่งเสริมให้ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจ และปฏิบัติตัวอย่างเหมาะสมในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสี่ยงต่อการเกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ลดปัญหาค่าใช้จ่ายในการรักษา/ดูแลด้านสุขภาพในระยะยาวและพัฒนาหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรค เพื่อให้เกิดกระบวนการดูแลสุขภาพที่เหมาะสม สอดคล้องกันไปอย่างต่อเนื่อง ฝ่ายเวชกรรมสังคม งานควบคุมโรคและระบาดวิทยา โรงพยาบาลสุไหงโก-ลก เจ้าหน้าที่ศูนย์แพทย์ใกล้ใจ 1 และอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านชุมชนเจริญสุข จึงดำเนินการจัดทำโครงการ “Save Your Life รู้ไว รู้มาก พิชิต NCDs ชุมชนเจริญทรัพย์ ปีงบประมาณ 2567” ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อพัฒนาศักยภาพแกนนำสุขภาพให้มีความรู้ความเข้าใจ ทักษะและความสามารถในการดำเนินงานสุขภาพภาคประชาชน โดยกลวิถีสาธารณสุขมูลฐาน ตามมาตรฐานสมรรถนะอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน นำไปปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
  2. เพื่อเฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ให้ประชากรกลุ่มเป้าหมายได้รับการคัดกรองเพื่อวินิจฉัยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง
  3. เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจ ในการป้องกันโรคไม่ติดต่อเรื้อรังและมีความรู้ในการดูแลตนเองได้อย่างถูกต้อง
  4. เพื่อให้ผู้ดูแล/ผู้ป่วยโรคเบาหวาน และโรคความดันโลหิตสูง มีความรู้และตระหนักถึงความสำคัญของการดูแลตนเองป้องกันภาวะแทรกซ้อนทางตา ไต เท้า และหัวใจได้
  5. เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนกลุ่มเป้าหมายได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่เป็นความเสี่ยงที่ทำให้เกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรังตามหลัก 3อ (อาหาร ออกกำลังกาย อารมณ์) 2ส (สุรา สารเสพติด)

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. สถานีสุขภาพดิจิทัล (Digital Health Station) ในชุมชน
  2. จัดทำเวทีประชาคม
  3. Save Your Life รู้ไว รู้มาก พิชิต NCDs ชุมชนเจริญทรัพย์
  4. ติดตามความก้าวหน้าหลังให้ความรู้

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 25
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 25
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. แกนนำสุขภาพมีทักษะในการปฏิบัติงานโรคไม่ติดต่อเรื้อรังได้ตามมาตรฐานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
  2. ประชาชนกลุ่มเป้าหมายได้รับการคัดกรองเพื่อวินิจฉัยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิต
  3. ผู้ดูแล/ผู้ป่วยมีความรู้ความเข้าใจในการป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อนของโรคเบาหวาน และโรคความดันโลหิตสูง
  4. ประชาชนกลุ่มเป้าหมาย มีความรอบรู้ด้านสุขภาพ สามารถปฏิบัติตนในการดำรงชีวิตประจำวันที่ไม่เสี่ยงต่อการเกิดโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง และโรคไม่ติดต่อเรื้อรังอื่น ๆ
  5. ประชาชนกลุ่มเป้าหมายได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่เป็นความเสี่ยงที่ทำให้เกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรังตามหลัก 3อ. (อาหาร ออกกำลังกาย อารมณ์) 2ส. (สุรา สารเสพติด)

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อพัฒนาศักยภาพแกนนำสุขภาพให้มีความรู้ความเข้าใจ ทักษะและความสามารถในการดำเนินงานสุขภาพภาคประชาชน โดยกลวิถีสาธารณสุขมูลฐาน ตามมาตรฐานสมรรถนะอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน นำไปปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ตัวชี้วัด : การทดสอบความรู้ ความเข้าใจ และสังเกตทักษะในการปฏิบัติงานโรคไม่ติดต่อเรื้อรังได้ตามมาตรฐานได้อย่างมีประสิทธิภาพร้อยละ 80
50.00 80.00

 

2 เพื่อเฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ให้ประชากรกลุ่มเป้าหมายได้รับการคัดกรองเพื่อวินิจฉัยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง
ตัวชี้วัด : ร้อยละของประชากรกลุ่มเป้าหมายที่ได้รับการคัดกรองเพื่อวินิจฉัยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงร้อยละ 80
50.00 80.00

 

3 เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจ ในการป้องกันโรคไม่ติดต่อเรื้อรังและมีความรู้ในการดูแลตนเองได้อย่างถูกต้อง
ตัวชี้วัด : กลุ่มเป้าหมายมีความรู้เรื่องในการป้องกันโรคไม่ติดต่อเรื้อรังและมีความรู้ในการดูแลสุขภาพตนเองได้อย่างถูกต้องร้อยละ 80
40.00 80.00

 

4 เพื่อให้ผู้ดูแล/ผู้ป่วยโรคเบาหวาน และโรคความดันโลหิตสูง มีความรู้และตระหนักถึงความสำคัญของการดูแลตนเองป้องกันภาวะแทรกซ้อนทางตา ไต เท้า และหัวใจได้
ตัวชี้วัด : ผู้ดูแล/ผู้ป่วยมีความรู้ความเข้าใจในการป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อนร้อยละ 80
50.00 80.00

 

5 เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนกลุ่มเป้าหมายได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่เป็นความเสี่ยงที่ทำให้เกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรังตามหลัก 3อ (อาหาร ออกกำลังกาย อารมณ์) 2ส (สุรา สารเสพติด)
ตัวชี้วัด : กลุ่มเป้าหมายมีพฤติกรรมที่เหมาะสม ร้อยละ 50
20.00 50.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 50
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 25
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 25
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อพัฒนาศักยภาพแกนนำสุขภาพให้มีความรู้ความเข้าใจ ทักษะและความสามารถในการดำเนินงานสุขภาพภาคประชาชน โดยกลวิถีสาธารณสุขมูลฐาน ตามมาตรฐานสมรรถนะอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน นำไปปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ (2) เพื่อเฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ให้ประชากรกลุ่มเป้าหมายได้รับการคัดกรองเพื่อวินิจฉัยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง (3) เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจ ในการป้องกันโรคไม่ติดต่อเรื้อรังและมีความรู้ในการดูแลตนเองได้อย่างถูกต้อง (4) เพื่อให้ผู้ดูแล/ผู้ป่วยโรคเบาหวาน และโรคความดันโลหิตสูง มีความรู้และตระหนักถึงความสำคัญของการดูแลตนเองป้องกันภาวะแทรกซ้อนทางตา ไต เท้า และหัวใจได้ (5) เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนกลุ่มเป้าหมายได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่เป็นความเสี่ยงที่ทำให้เกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรังตามหลัก 3อ (อาหาร ออกกำลังกาย อารมณ์) 2ส (สุรา สารเสพติด)

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) สถานีสุขภาพดิจิทัล (Digital Health Station) ในชุมชน (2) จัดทำเวทีประชาคม (3) Save Your Life รู้ไว รู้มาก พิชิต NCDs ชุมชนเจริญทรัพย์ (4) ติดตามความก้าวหน้าหลังให้ความรู้

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการ Save Your Life รู้ไว รู้มาก พิชิต NCDs ชุมชนเจริญทรัพย์ ปีงบประมาณ 2567 จังหวัด

รหัสโครงการ 67-L6961-1-02

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวอาดีลาห์ เจ๊ะอาแว )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด