โครงการเด็กบางปูโภชนาการดีพัฒนาการสมวัย
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการเด็กบางปูโภชนาการดีพัฒนาการสมวัย ”
ตำบลบางปู อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี
หัวหน้าโครงการ
นางฮัสนาใบกาเด็ม
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบางปู
กันยายน 2560
ชื่อโครงการ โครงการเด็กบางปูโภชนาการดีพัฒนาการสมวัย
ที่อยู่ ตำบลบางปู อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 60L70080106 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 12 ธันวาคม 2559 ถึง 29 กันยายน 2560
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการเด็กบางปูโภชนาการดีพัฒนาการสมวัย จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบางปู อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบางปู ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการเด็กบางปูโภชนาการดีพัฒนาการสมวัย
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการเด็กบางปูโภชนาการดีพัฒนาการสมวัย " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบางปู อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 60L70080106 ระยะเวลาการดำเนินงาน 12 ธันวาคม 2559 - 29 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 36,025.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบางปู เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ทุกคนอยากมีสุขภาพดี ไม่เจ็บป่วย ซึ่งการกินอาหารถูกต้องเหมาะสม และพอเพียงจะทำให้มีโภชนาการดี และนำไปสู่การมีสุขภาพดี ในทางตรงกันข้ามหากกินอาหารที่ไม่มีประโยชน์ไม่เพียงพอจะทำให้ขาดสารอาหาร หรือถ้ากินอาหารมากเกินไป ก็จะทำให้เป็นโรคอ้วน หรือโภชนาการเกิน “โภชนาการ” จึงเป็นเรื่องของการกิน “อาหาร” ที่ร่างกายเรานำ “สารอาหาร” จากอาหารไปใช้ประโยชน์และดำรงชีวิตอยู่ได้อย่างเป็นสุข อาหารและโภชนาการเป็นพื้นฐานที่สำคัญยิ่งต่อสุขภาพ และคุณภาพชีวิตของประชากรในวัย ต่างๆ ในวงจรชีวิตมนุษย์ทุกเพศ ทุกวัย ทั้งเด็ก วัยรุ่น ผู้ใหญ่ และผู้สูงอายุฯโดยเฉพาะในเด็กวัยก่อนเรียนเป็นวัยที่อยู่ในระยะสำคัญของชีวิต เป็นวัยรากฐานของพัฒนาการ การเจริญเติบโตทั้งร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคมและสติปัญญา จึงเป็นวัยที่มีความสำคัญ เหมาะสมที่สุดในการวางพื้นฐาน เพื่อยกระดับการพัฒนาคุณภาพชีวิต โดยเฉพาะในระยะ 2 ปี แรกของชีวิต เป็นระยะที่ร่างกายและสมองมีการเจริญเติบโตอย่างรวดเร็ว จำเป็นต้องได้รับการเลี้ยงดูที่ดีที่สุดเพื่อส่งเสริมพัฒนาการรอบด้านอาหารและภาวะโภชนาการที่ดีเป็นปัจจัยที่มีความสำคัญต่อการเจริญเติบโตและพัฒนาของเด็กวัยก่อนวัยเรียน ปัญหาทางโภชนาการที่พบบ่อยในเด็กวัยนี้ ได้แก่ ภาวะการเจริญเติบโตไม่สมวัยจากโรคขาดสารอาหาร ภาวะโภชนาการเกิน การขาดสารไอโอดีนภาวะโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็ก โดยมีสาเหตุสำคัญจากพฤติกรรมการเลี้ยงดูที่ไม่เหมาะสม การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ลดลงการให้อาหารตามวัยแก่เด็กเร็วเกินไปและไม่ถูกต้อง และจากการประเมินผลการเฝ้าระวังทางภาวะโภชนาการเด็กก่อนวัยเรียน (0-6 ปี) จะพบว่าพื้นที่เขตตำบลบางปูในช่วงไตรมาสที่ผ่านมา มีน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์51 คน จากเด็กทั้งหมด888คน คิดเป็นร้อยละ 5.74 น้ำหนักค่อนข้างต่ำกว่าเกณฑ์80 คน คิดเป็นร้อยละ 8.29 ซึ่งตามเป้าหมายของกระทรวงสาธารณสุขกำหนดให้มีไม่เกินร้อยละ 7 และในอนาคตมีแนวโน้มว่าจะเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ
ดังนั้นโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบางปู ได้เล็งเห็นความสำคัญของการเฝ้าระวังทางโภชนาการในเด็กก่อนวัยเรียนเพื่อให้เด็กมีสุขภาพสมบูรณ์แข็งแรงมีการเจริญเติบโตของสมองและร่างกายเหมาะสมตามวัย และส่งเสริมพัฒนาการตามวัยควบคู่ไปด้วยเพื่อให้เด็กเติบโตเป็นทรัพยากรบุคคลที่มีคุณค่า และเป็นอนาคตที่สำคัญของประเทศชาติต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1.1 เพื่อเสริมสร้างความรู้ ความเข้าใจในการเฝ้าระวัง และส่งเสริมพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้องในการจัดการด้านอาหารแก่ผู้ปกครอง
- 1.2 เพื่อส่งเสริมสนับสนุนการจัดบริการด้านการส่งเสริมสุขภาพแก่เด็กอายุ0 – 5 ปี โดยให้มีส่วนสูงระดับดีและรูปร่างสมส่วน ร้อยละ 70
- 1.3เพื่อให้เด็กได้รับการตรวจพัฒนาการและเฝ้าระวัง ค้นหา เด็กที่สงสัยพัฒนาการล่าช้า กลุ่มเป้าหมาย
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ผู้ปกครองตระหนักถึงความสำคัญของการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการเด็กและสามารถดูแลสุขภาพของเด็กได้ถูกต้องตามวัย
- ทราบถึงสภาพปัญหาและแนวโน้มของการเกิดภาวะทุพลโภชนาการในตำบลบางปู
- เด็กตำบลบางปูมีโภชนาการและพัฒนาการปกติเป็นไปตามวัย
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. 1.1 ประชุมชี้แจงผู้นำชุมชน ประธาน อสม. ผู้ปกครองของเด็กอายุ 0-5 ปีที่ขาดสารอาหารทุกหมู่บ้าน ในเขตรับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบางปู ให้รับทราบเกี่ยวกับโครงการ เพื่อขอความร่วมมือ
วันที่ 3 เมษายน 2560 เวลา 08:30 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- ผู้ปกครองตระหนักถึงความสำคัญของการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการเด็กและสามารถดูแลสุขภาพของเด็กได้ถูกต้องตามวัย
- ทราบถึงสภาพปัญหาและแนวโน้มของการเกิดภาวะทุพโภชนาการในตำบลบางปู
- เด็กตำบลบางปูมีโภชนาการและพัฒนาการปกติเป็นไปตามวัย
120
120
2. จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างผู้ปกครอง เพื่อค้นหาสาเหตุของการขาดสารอาหารในเด็ก อายุ 0-5 ปี พร้อมให้ความรู้แก่ผู้ปกครองในเรื่องภาวะขาดสารอาหาร และการเฝ้าระวังการเจริญเติบโตของเด็ก
วันที่ 10 เมษายน 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- ผู้ปกครองตระหนักถึงความสำคัญของการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการเด็กและสามารถดูแลสุขภาพของเด็กได้ถูกต้องตามวัย
- ทราบถึงสภาพปัญหาและแนวโน้มของการเกิดภาวะทุพโภชนาการในตำบลบางปู
- เด็กตำบลบางปูมีโภชนาการและพัฒนาการปกติเป็นไปตามวัย
51
102
3. 2.1 ดำเนินการชั่งน้ำหนักและวัดส่วนสูงเด็กที่มีภาวะทุพโภชนาการทุกเดือน โดยเน้นให้ผู้ปกครองได้ดำเนินการเองโดยมีเจ้าหน้าที่ และอสม.คอยแนะนำ เพื่อเป็นการประเมินการเจริญเติบโตของเด็ก 2.2 เจ้าหน้าที่ สอนการใช้กราฟเพื่อแปรผลน้ำหนัก- ส่วนสูง เพื่อให้อาสาสมัครเค
วันที่ 11 เมษายน 2560 เวลา 08:30 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
-ร้อยละ ๑๐ ของ อสม.และผู้ปกครองมีความรู้ในการเฝ้าระวังและส่งเสริมโภชนาการเด็กเพิ่มขึ้น
-ร้อยละ 90 ของ เด็กตำบลบางปูได้รับการเฝ้าระวังทางโภชนาการ
-ร้อยละ 90 ของเด็กตำบลบางปูได้รับการตรวจคัดกรองพัฒนาการเด็ก ด้วย DSPM
74
74
4. กิจกรรมที่3. อธิบายความสำคัญและการติดตามเด็กมาตรวจพัฒนหน้าที่สาธารณสุข อธิบายถึงความสำคัญของการตรวจพัฒนาการและสอนวิธีการประเมินพัฒนาการเด็กให้กับอาสาสมัคร และวิธีการกระตุ้นพัฒนาการตามวัย เพื่อให้อาสาสมัครติดตามเด็กมาตรวจพัฒนาการ
วันที่ 18 เมษายน 2560 เวลา 08:30 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
-ร้อยละ ๑๐ ของ อสม.และผู้ปกครองมีความรู้ในการเฝ้าระวังและส่งเสริมโภชนาการเด็กเพิ่มขึ้น
-ร้อยละ 90 ของ เด็กตำบลบางปูได้รับการเฝ้าระวังทางโภชนาการ
-ร้อยละ 90 ของเด็กตำบลบางปูได้รับการตรวจคัดกรองพัฒนาการเด็ก ด้วย DSPM
74
74
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
จากการประเมิน
-ร้อยละ ๑๐ ของ อสม.และผู้ปกครองมีความรู้ในการเฝ้าระวังและส่งเสริมโภชนาการเด็กเพิ่มขึ้น
-ร้อยละ 90 ของ เด็กตำบลบางปูได้รับการเฝ้าระวังทางโภชนาการ
-ร้อยละ 90 ของเด็กตำบลบางปูได้รับการตรวจคัดกรองพัฒนาการเด็ก ด้วย DSPM
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
1.1 เพื่อเสริมสร้างความรู้ ความเข้าใจในการเฝ้าระวัง และส่งเสริมพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้องในการจัดการด้านอาหารแก่ผู้ปกครอง
ตัวชี้วัด :
2
1.2 เพื่อส่งเสริมสนับสนุนการจัดบริการด้านการส่งเสริมสุขภาพแก่เด็กอายุ0 – 5 ปี โดยให้มีส่วนสูงระดับดีและรูปร่างสมส่วน ร้อยละ 70
ตัวชี้วัด :
3
1.3เพื่อให้เด็กได้รับการตรวจพัฒนาการและเฝ้าระวัง ค้นหา เด็กที่สงสัยพัฒนาการล่าช้า กลุ่มเป้าหมาย
ตัวชี้วัด :
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
0
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.1 เพื่อเสริมสร้างความรู้ ความเข้าใจในการเฝ้าระวัง และส่งเสริมพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้องในการจัดการด้านอาหารแก่ผู้ปกครอง (2) 1.2 เพื่อส่งเสริมสนับสนุนการจัดบริการด้านการส่งเสริมสุขภาพแก่เด็กอายุ0 – 5 ปี โดยให้มีส่วนสูงระดับดีและรูปร่างสมส่วน ร้อยละ 70 (3) 1.3เพื่อให้เด็กได้รับการตรวจพัฒนาการและเฝ้าระวัง ค้นหา เด็กที่สงสัยพัฒนาการล่าช้า กลุ่มเป้าหมาย
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการเด็กบางปูโภชนาการดีพัฒนาการสมวัย จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 60L70080106
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางฮัสนาใบกาเด็ม )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการเด็กบางปูโภชนาการดีพัฒนาการสมวัย ”
ตำบลบางปู อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี
หัวหน้าโครงการ
นางฮัสนาใบกาเด็ม
กันยายน 2560
ที่อยู่ ตำบลบางปู อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 60L70080106 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 12 ธันวาคม 2559 ถึง 29 กันยายน 2560
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการเด็กบางปูโภชนาการดีพัฒนาการสมวัย จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบางปู อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบางปู ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการเด็กบางปูโภชนาการดีพัฒนาการสมวัย
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการเด็กบางปูโภชนาการดีพัฒนาการสมวัย " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบางปู อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 60L70080106 ระยะเวลาการดำเนินงาน 12 ธันวาคม 2559 - 29 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 36,025.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบางปู เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ทุกคนอยากมีสุขภาพดี ไม่เจ็บป่วย ซึ่งการกินอาหารถูกต้องเหมาะสม และพอเพียงจะทำให้มีโภชนาการดี และนำไปสู่การมีสุขภาพดี ในทางตรงกันข้ามหากกินอาหารที่ไม่มีประโยชน์ไม่เพียงพอจะทำให้ขาดสารอาหาร หรือถ้ากินอาหารมากเกินไป ก็จะทำให้เป็นโรคอ้วน หรือโภชนาการเกิน “โภชนาการ” จึงเป็นเรื่องของการกิน “อาหาร” ที่ร่างกายเรานำ “สารอาหาร” จากอาหารไปใช้ประโยชน์และดำรงชีวิตอยู่ได้อย่างเป็นสุข อาหารและโภชนาการเป็นพื้นฐานที่สำคัญยิ่งต่อสุขภาพ และคุณภาพชีวิตของประชากรในวัย ต่างๆ ในวงจรชีวิตมนุษย์ทุกเพศ ทุกวัย ทั้งเด็ก วัยรุ่น ผู้ใหญ่ และผู้สูงอายุฯโดยเฉพาะในเด็กวัยก่อนเรียนเป็นวัยที่อยู่ในระยะสำคัญของชีวิต เป็นวัยรากฐานของพัฒนาการ การเจริญเติบโตทั้งร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคมและสติปัญญา จึงเป็นวัยที่มีความสำคัญ เหมาะสมที่สุดในการวางพื้นฐาน เพื่อยกระดับการพัฒนาคุณภาพชีวิต โดยเฉพาะในระยะ 2 ปี แรกของชีวิต เป็นระยะที่ร่างกายและสมองมีการเจริญเติบโตอย่างรวดเร็ว จำเป็นต้องได้รับการเลี้ยงดูที่ดีที่สุดเพื่อส่งเสริมพัฒนาการรอบด้านอาหารและภาวะโภชนาการที่ดีเป็นปัจจัยที่มีความสำคัญต่อการเจริญเติบโตและพัฒนาของเด็กวัยก่อนวัยเรียน ปัญหาทางโภชนาการที่พบบ่อยในเด็กวัยนี้ ได้แก่ ภาวะการเจริญเติบโตไม่สมวัยจากโรคขาดสารอาหาร ภาวะโภชนาการเกิน การขาดสารไอโอดีนภาวะโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็ก โดยมีสาเหตุสำคัญจากพฤติกรรมการเลี้ยงดูที่ไม่เหมาะสม การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ลดลงการให้อาหารตามวัยแก่เด็กเร็วเกินไปและไม่ถูกต้อง และจากการประเมินผลการเฝ้าระวังทางภาวะโภชนาการเด็กก่อนวัยเรียน (0-6 ปี) จะพบว่าพื้นที่เขตตำบลบางปูในช่วงไตรมาสที่ผ่านมา มีน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์51 คน จากเด็กทั้งหมด888คน คิดเป็นร้อยละ 5.74 น้ำหนักค่อนข้างต่ำกว่าเกณฑ์80 คน คิดเป็นร้อยละ 8.29 ซึ่งตามเป้าหมายของกระทรวงสาธารณสุขกำหนดให้มีไม่เกินร้อยละ 7 และในอนาคตมีแนวโน้มว่าจะเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ
ดังนั้นโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบางปู ได้เล็งเห็นความสำคัญของการเฝ้าระวังทางโภชนาการในเด็กก่อนวัยเรียนเพื่อให้เด็กมีสุขภาพสมบูรณ์แข็งแรงมีการเจริญเติบโตของสมองและร่างกายเหมาะสมตามวัย และส่งเสริมพัฒนาการตามวัยควบคู่ไปด้วยเพื่อให้เด็กเติบโตเป็นทรัพยากรบุคคลที่มีคุณค่า และเป็นอนาคตที่สำคัญของประเทศชาติต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1.1 เพื่อเสริมสร้างความรู้ ความเข้าใจในการเฝ้าระวัง และส่งเสริมพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้องในการจัดการด้านอาหารแก่ผู้ปกครอง
- 1.2 เพื่อส่งเสริมสนับสนุนการจัดบริการด้านการส่งเสริมสุขภาพแก่เด็กอายุ0 – 5 ปี โดยให้มีส่วนสูงระดับดีและรูปร่างสมส่วน ร้อยละ 70
- 1.3เพื่อให้เด็กได้รับการตรวจพัฒนาการและเฝ้าระวัง ค้นหา เด็กที่สงสัยพัฒนาการล่าช้า กลุ่มเป้าหมาย
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ผู้ปกครองตระหนักถึงความสำคัญของการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการเด็กและสามารถดูแลสุขภาพของเด็กได้ถูกต้องตามวัย
- ทราบถึงสภาพปัญหาและแนวโน้มของการเกิดภาวะทุพลโภชนาการในตำบลบางปู
- เด็กตำบลบางปูมีโภชนาการและพัฒนาการปกติเป็นไปตามวัย
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. 1.1 ประชุมชี้แจงผู้นำชุมชน ประธาน อสม. ผู้ปกครองของเด็กอายุ 0-5 ปีที่ขาดสารอาหารทุกหมู่บ้าน ในเขตรับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบางปู ให้รับทราบเกี่ยวกับโครงการ เพื่อขอความร่วมมือ |
||
วันที่ 3 เมษายน 2560 เวลา 08:30 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
120 | 120 |
2. จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างผู้ปกครอง เพื่อค้นหาสาเหตุของการขาดสารอาหารในเด็ก อายุ 0-5 ปี พร้อมให้ความรู้แก่ผู้ปกครองในเรื่องภาวะขาดสารอาหาร และการเฝ้าระวังการเจริญเติบโตของเด็ก |
||
วันที่ 10 เมษายน 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
51 | 102 |
3. 2.1 ดำเนินการชั่งน้ำหนักและวัดส่วนสูงเด็กที่มีภาวะทุพโภชนาการทุกเดือน โดยเน้นให้ผู้ปกครองได้ดำเนินการเองโดยมีเจ้าหน้าที่ และอสม.คอยแนะนำ เพื่อเป็นการประเมินการเจริญเติบโตของเด็ก 2.2 เจ้าหน้าที่ สอนการใช้กราฟเพื่อแปรผลน้ำหนัก- ส่วนสูง เพื่อให้อาสาสมัครเค |
||
วันที่ 11 เมษายน 2560 เวลา 08:30 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น-ร้อยละ ๑๐ ของ อสม.และผู้ปกครองมีความรู้ในการเฝ้าระวังและส่งเสริมโภชนาการเด็กเพิ่มขึ้น
-ร้อยละ 90 ของ เด็กตำบลบางปูได้รับการเฝ้าระวังทางโภชนาการ
|
74 | 74 |
4. กิจกรรมที่3. อธิบายความสำคัญและการติดตามเด็กมาตรวจพัฒนหน้าที่สาธารณสุข อธิบายถึงความสำคัญของการตรวจพัฒนาการและสอนวิธีการประเมินพัฒนาการเด็กให้กับอาสาสมัคร และวิธีการกระตุ้นพัฒนาการตามวัย เพื่อให้อาสาสมัครติดตามเด็กมาตรวจพัฒนาการ |
||
วันที่ 18 เมษายน 2560 เวลา 08:30 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น-ร้อยละ ๑๐ ของ อสม.และผู้ปกครองมีความรู้ในการเฝ้าระวังและส่งเสริมโภชนาการเด็กเพิ่มขึ้น
-ร้อยละ 90 ของ เด็กตำบลบางปูได้รับการเฝ้าระวังทางโภชนาการ
|
74 | 74 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
จากการประเมิน
-ร้อยละ ๑๐ ของ อสม.และผู้ปกครองมีความรู้ในการเฝ้าระวังและส่งเสริมโภชนาการเด็กเพิ่มขึ้น
-ร้อยละ 90 ของ เด็กตำบลบางปูได้รับการเฝ้าระวังทางโภชนาการ
-ร้อยละ 90 ของเด็กตำบลบางปูได้รับการตรวจคัดกรองพัฒนาการเด็ก ด้วย DSPM
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | 1.1 เพื่อเสริมสร้างความรู้ ความเข้าใจในการเฝ้าระวัง และส่งเสริมพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้องในการจัดการด้านอาหารแก่ผู้ปกครอง ตัวชี้วัด : |
|
|||
2 | 1.2 เพื่อส่งเสริมสนับสนุนการจัดบริการด้านการส่งเสริมสุขภาพแก่เด็กอายุ0 – 5 ปี โดยให้มีส่วนสูงระดับดีและรูปร่างสมส่วน ร้อยละ 70 ตัวชี้วัด : |
|
|||
3 | 1.3เพื่อให้เด็กได้รับการตรวจพัฒนาการและเฝ้าระวัง ค้นหา เด็กที่สงสัยพัฒนาการล่าช้า กลุ่มเป้าหมาย ตัวชี้วัด : |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 0 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.1 เพื่อเสริมสร้างความรู้ ความเข้าใจในการเฝ้าระวัง และส่งเสริมพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้องในการจัดการด้านอาหารแก่ผู้ปกครอง (2) 1.2 เพื่อส่งเสริมสนับสนุนการจัดบริการด้านการส่งเสริมสุขภาพแก่เด็กอายุ0 – 5 ปี โดยให้มีส่วนสูงระดับดีและรูปร่างสมส่วน ร้อยละ 70 (3) 1.3เพื่อให้เด็กได้รับการตรวจพัฒนาการและเฝ้าระวัง ค้นหา เด็กที่สงสัยพัฒนาการล่าช้า กลุ่มเป้าหมาย
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการเด็กบางปูโภชนาการดีพัฒนาการสมวัย จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 60L70080106
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางฮัสนาใบกาเด็ม )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......