กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ สร้างเสริมสุขภาพคนตำบลกะลุวอ ไร้พุง ลดโรค ปี 2567 ”
ตำบลกะลุวอ อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส



หัวหน้าโครงการ
นายอัสมาวี สันนิกุล




ชื่อโครงการ สร้างเสริมสุขภาพคนตำบลกะลุวอ ไร้พุง ลดโรค ปี 2567

ที่อยู่ ตำบลกะลุวอ อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 67-L2490-1-09 เลขที่ข้อตกลง 018/2567

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 2 ตุลาคม 2566 ถึง 30 กันยายน 2567

กิตติกรรมประกาศ

"สร้างเสริมสุขภาพคนตำบลกะลุวอ ไร้พุง ลดโรค ปี 2567 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลกะลุวอ อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กะลุวอ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
สร้างเสริมสุขภาพคนตำบลกะลุวอ ไร้พุง ลดโรค ปี 2567



บทคัดย่อ

โครงการ " สร้างเสริมสุขภาพคนตำบลกะลุวอ ไร้พุง ลดโรค ปี 2567 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลกะลุวอ อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 67-L2490-1-09 ระยะเวลาการดำเนินงาน 2 ตุลาคม 2566 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 46,400.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กะลุวอ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ภาวะน้ำหนักเกินมาตรฐาน เป็นปัญหาทางสาธารณสุขที่สำคัญปัญหาหนึ่ง เนื่องจาก เป็นสาเหตุสำคัญ ของการเกิดโรคที่เรื้อรังหลายชนิด ผลกระทบจากโรคเหล่านี้ก่อการให้เกิดอัตราการเจ็บป่วย และอัตราตาย สูงกว่าผู้ที่มีน้ำหนักตัวปกติ ค่านิยมในการบริโภคและวิถีการดำเนินชีวิตของคนไทยเปลี่ยนแปลงไปได้ตามกระแสบริโภคนิยมก่อให้เกิดผลกระทบต่อสุขภาพ เช่น การบริโภคอาหารอาหารรสหวาน อาหารเค็มและไขมันสูงที่ส่งผลข้างเคียงต่อสุขภาพ โดยเฉพาะการรับประทาน อาหารรสจัด เช่น  มันจัด หวานจัด เค็มจัด กินผักและผลไม้น้อย เดินน้อยลง ขาดการออกกำลังกายโดยเริ่มตั้งแต่วัยเด็กจนถึงคนวัยสูงอายุ  ทำให้พลังงานในร่างกายไม่สมดุลกันระหว่างการได้รับเข้ามากับการใช้ไป ร่างกายจึงเปลี่ยนพลังงานที่เหลือใช้กลับไปเป็นไขมันสะสมไว้ตามส่วนต่างๆของร่างกาย  จากการคัดกรองภาวะสุขภาพประชาชน อายุ 15 ปีขึ้นไป  ในปี 2566 พบอัตราภาวะรอบเอวเกินร้อยละ 33.01 ซึ่งเป็นปัจจัยเสี่ยงทำให้เกิดโรคต่างๆตามมา  เช่น โรคความดันโลหิตสูง เบาหวาน ไขมันในเลือดสูง โรคหัวใจและหลอดเลือด  เป็นต้น   ประชาชนกลุ่มเสี่ยงจึงควรมีการปรับเปลี่ยนทั้งพฤติกรรมการบริโภคอาหารและการออกกำลังกาย เพื่อให้มีการใช้พลังงานให้สมดุลกัน ลดปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคเรื้อรัง ดังนั้นเพื่อดำเนินการป้องกันและแก้ไขภาวะเสี่ยงต่อการเกิดปัญหาสุขภาพที่สำคัญรพ.สต.กะลุวอ จึงได้จัดทำโครงการสร้างเสริมสุขภาพคนตำบลกะลุวอไร้พุง ลดโรค ปี 2567 เพื่อเฝ้าระวังติดตามควบคุมและป้องกันไม่ให้เกิดภาวะอ้วนลงพุง รวมทั้งป้องกันอุบัติการณ์ของการเกิดโรคและหรือลดความรุนแรงของโรคหัวใจและหลอดเลือด โรคความดันโลหิตสูง และโรคเบาหวาน ซึ่ง เป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญ

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ประชาชนอายุ 15 ปีขึ้นไป ได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพได้อย่างถูกต้องเหมาะสม
  2. เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคเรื้อรังในชุมชน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัตการแกนนำคัดกรองดัชนีมวลกายและภาวะเอวเกิน ในประชาชนอายุ 15 ปี ขึ้นไป 
  2. กิจกรรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมพิชิตอ้วน พิชิตพุง แก่ประชาชนกลุ่มเสี่ยงที่มีภาวะเอวเกิน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 220
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ประชาชนอายุ15 ปี ขึ้นไป ได้รับการคัดกรองโรคภาวะเสี่ยงต่อภาวะะโรค METABOLIC
  2. กลุ่มเป้าหมายมีความรู้และทักษะในการสร้างเสริมสุขภาพ อย่างเหมาะสม สามารถนำไปปฏิบัติได้อย่างถูกต้องในเรื่อง อาหาร  อารมณ์  ออกกำลังกาย
  3. กลุ่มเป้าหมายได้ตระหนักถึงการพัฒนาตนเอง สามารถลดน้ำหนัก-ลดรอบเอว จากฐานเดิมได้ ร้อยละ 5 และเป็นแบบอย่างที่ดีแก่ครอบครัวและประชาชนทั่วไปได้ปฏิบัติตนและการรักษาได้อย่างเหมาะสม

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัตการแกนนำคัดกรองดัชนีมวลกายและภาวะเอวเกิน ในประชาชนอายุ 15 ปี ขึ้นไป 

วันที่ 15 กรกฎาคม 2567 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

1.ลงทะเบียน 2.คัดกรองกลุ่มเสี่ยง 3.ให้ความรู้ 3อ 2ส 4.สาธิตโมเดลอาหาร 5.ออกกำลังกายลดพุง ลดโรค

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.ประชาชนอายุ 15 ปีขึ้นไป ได้รับการคัดกรองภาวะเสี่ยงต่อโรค metabolic 2.กลุ่มเป้าหมายมีความรู้และทักษะในการสร้างเสริมสุขภาพอย่างเหมาะสม สามารถนำไปปฏิบัติได้อย่งถูกต้องในเรื่องอาหาร อารมณ์ ออกกำลังกาย

 

0 0

2. กิจกรรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมพิชิตอ้วน พิชิตพุง แก่ประชาชนกลุ่มเสี่ยงที่มีภาวะเอวเกิน

วันที่ 16 กรกฎาคม 2567 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

1.ลงทะเบียน 2.คัดกรองกลุ่มเสี่ยง 3.ให้ความรู้ 3อ 2ส 4.สาธิตโมเดลอาหาร 5.ออกกำลังกายลดพุง ลดโรค

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.กลุ่มเป้าหมายมีความรู้และทักษะการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมพิชิตอ้วน พิชิตพุง 2.กลุ่มเป้าหมายได้ตระหนักถึงการพัฒนานเอง สามารถลดน้ำหนัก ลดรอบเอว ปฏิบัติตนได้ถูกต้องเหมาะสม

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ประชาชนอายุ 15 ปีขึ้นไป ได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพได้อย่างถูกต้องเหมาะสม
ตัวชี้วัด : กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมได้รับความรู้และทักษะการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมพิชิตอ้วน พิชิตพุง ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
33.10 80.00

 

2 เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคเรื้อรังในชุมชน
ตัวชี้วัด : กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมมีขนาดรอบเอว น้ำหนัก และดัชนีมวลกาย อยู่ในน้ำหนักปกติร้อยละ 60
33.10 60.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 220
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 220
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ประชาชนอายุ 15 ปีขึ้นไป ได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพได้อย่างถูกต้องเหมาะสม (2) เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคเรื้อรังในชุมชน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัตการแกนนำคัดกรองดัชนีมวลกายและภาวะเอวเกิน ในประชาชนอายุ 15 ปี ขึ้นไป  (2) กิจกรรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมพิชิตอ้วน พิชิตพุง แก่ประชาชนกลุ่มเสี่ยงที่มีภาวะเอวเกิน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


สร้างเสริมสุขภาพคนตำบลกะลุวอ ไร้พุง ลดโรค ปี 2567 จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 67-L2490-1-09

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายอัสมาวี สันนิกุล )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด