กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลร่มเมือง


“ โครงการร่มเมืองร่วมใจ ห่างไกลเบาหวาน ”

ตำบลร่มเมือง อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
ประธานชมรมอาสาสมัครสาธารณสุข โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านลำ(นางจริยา เกื้อสุข)

ชื่อโครงการ โครงการร่มเมืองร่วมใจ ห่างไกลเบาหวาน

ที่อยู่ ตำบลร่มเมือง อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 67- L3360 - 2 - 19 เลขที่ข้อตกลง ........................

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2567 ถึง 31 มีนาคม 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการร่มเมืองร่วมใจ ห่างไกลเบาหวาน จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลร่มเมือง อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลร่มเมือง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการร่มเมืองร่วมใจ ห่างไกลเบาหวาน



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการร่มเมืองร่วมใจ ห่างไกลเบาหวาน " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลร่มเมือง อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 67- L3360 - 2 - 19 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2567 - 31 มีนาคม 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 29,434.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลร่มเมือง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง NCD (Non-communicable disease, NCD) คือ กลุ่มโรคที่ไม่ได้เกิดจากเชื้อโรคจึงทำให้ไม่สามารถแพร่กระจายจากบุคคลหนึ่งไปอีกบุคคลหนึ่งได้ ซึ่งโรค NCDs นั้นเกิดจากปัจจัยเสี่ยงที่มาจากพฤติกรรมการดำเนินชีวิตที่ไม่เหมาะสมต่างๆ เป็นหลัก เช่น การดื่มสุรา การสูบบุหรี่ การรับประทานอาหารหวาน มัน เค็ม และการออกกำลังกายที่ไม่เพียงพอ ซึ่งทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางสรีรวิทยา ได้แก่ ไขมันในเลือดสูง ความดันโลหิตสูง น้ำตาลในเลือดสูง ภาวะน้ำหนักเกิน และอ้วน ที่นำไปสู่การเป็นโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง หากไม่ได้รับการรักษาที่ถูกต้องหรือไม่ได้รับการดูแลรักษา จะยิ่งทำให้อาการรุนแรงขึ้นเรื่อยๆ และเกิดการสะสมจนเป็นโรคเรื้อรังได้องค์การอนามัยโลก (WHO) สถิติผู้เสียชีวิตจากกลุ่มโรค NCDs ในปี พ.ศ. 2552 พบว่าสาเหตุการเสียชีวิตของประชากรโลกทั้งหมด มีถึง 63% ที่เกิดจากกลุ่มโรค NCDs และที่สำคัญกว่านั้นคือ กว่า 80% เป็นประชากรของประเทศที่กำลังพัฒนา ในประเทศไทย จากสถิติล่าสุดพบว่ามี 14 ล้านคนที่เป็นโรค ในกลุ่มโรค NCDs และที่สำคัญยังถือเป็นสาเหตุหลักการเสียชีวิตของ ประชากรทั้งประเทศ โดยจากสถิติปี พ.ศ. 2552 ประชากรที่เสียชีวิต จากกลุ่มโรค NCDs มากกว่า 300,000 คน หรือ คิดเป็น 73% ของการเสียชีวิตของประชากรไทยทั้งหมดในปี 2552 และมีแนวโน้มจะสูงขึ้นเรื่อยๆ ในอนาคตโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านลำ มีประชากรอายุ 35 ปีขึ้นไป ที่อาศัยอยู่ในพื้นที่ 1,286 คน ซึ่งปี 2566 ผู้ป่วยที่ขึ้นทะเบียนแล้วโรคเบาหวาน 143 คน และโรคความดันโลหิตสูง 367 คน ถือว่าเป็นปัญหาสาธารณสุขในชุมชน ดังนั้นชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขตำบลร่มเมือง , โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านลำและกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลร่มเมืองจึงได้จัดทำโครงการร่มเมืองร่วมใจห่างไกลเบาหวาน ปี 2567 ซึ่งมีกิจกรรมหลักในการคัดกรองและการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในกลุ่มเสี่ยงและเพิ่มทักษะการมีพฤติกรรมสุขภาพที่ดีสำหรับกลุ่มปกติในประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไป ให้สามารถดูแลตนเองเพื่อป้องกันการเกิดโรคทั้งด้านร่างกายและจิตใจและในกลุ่มที่เป็นโรคได้รับการดูแลและรักษาได้อย่างทันท่วงทีและได้รับการดูแลอย่างต่อเนื่องและมีพฤติกรรมสุขภาพที่ดี เพื่อเป็นการป้องกันภาวะแทรกซ้อนรุนแรงที่จะเกิดขึ้นต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อค้นหาผู้ที่มีภาวะเสี่ยงต่อโรคเบาหวาน
  2. เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของผู้ที่มีภาวะเสี่ยง ไม่ให้ป่วยด้วยโรคเบาหวาน
  3. เพื่อให้สามารถดูแลผู้ป่วยรายใหม่ได้อย่างเหมาะสมและทันท่วงที

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมตรวจคัดกรองความเสี่ยงในกลุ่มประชากร อายุ 35 ปีขึ้นไป

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 1,286
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ร้อยละ 90 ของ ประชากรกลุ่มเป้าหมาย อายุ 35 ปีขึ้นไป ได้รับการตรวจคัดกรองความเสี่ยงโรคเบาหวาน , โรคซึมเศร้า , คัดกรองภาวะสุขภาพผู้สูงอายุ
  2. กลุ่มที่มีภาวะเสี่ยง (สงสัยป่วย) ได้รับการติดตามและการปรับเปลี่ยนพฤฒิกรรมสุขภาพ

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมตรวจคัดกรองความเสี่ยงในกลุ่มประชากร อายุ 35 ปีขึ้นไป

วันที่ 25 มกราคม 2567 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  1. จัดประชุมเจ้าหน้าที่/อสม.เพื่อจัดทำแผนปฏิบัติงาน
  2. ดำเนินการจัดหาวัสดุ อุปกรณ์ในการตรวจคัดกรอง
  3. เตรียมรายชื่อกลุ่มเป้าหมายอายุ 35 ปีขึ้นไปแยกเป็นรายหมู่บ้าน
  4. ประชาสัมพันธ์โครงการ/แผนปฏิบัติงาน
  5. ปฏิบัติงานตามแผนฯตั้งแต่เวลา 06.30 น.การให้ความรู้ประชาชนรายหมู่บ้านเกี่ยวกับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อป้องกันการเกิดโรคเบาหวาน , เจาะน้ำตาลในเลือดชั่งน้ำหนัก/วัดส่วนสูง/วัดรอบเอว/การประเมิน การคัดกรองภาวะซึมเศร้า การตรวจคัดกรองภาวะสุขภาพของผู้สูงอายุ พร้อมแปรผลและแจ้งผลให้ทราบ
  6. สรุปและรายงานผลการดำเนิน งบประมาณจากหลักประกันสุขภาพ
    งบประมาณ
  7. ค่าแถบวัดระดับน้ำตาลในเลือดพร้อมเข็มเจาะ จำนวน 1,286 ชุดๆละ 19 บาท เป็นเงิน 24,434 บาท
  8. ค่าอาหารและเครื่องดื่มสำหรับประชาชนที่มาร่วมคัดรอง จำนวน 250 คน คนละ 20 บาท เป็นเงิน 5,000 บาท รวมเป็นเงิน 29,434 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. ร้อยละ 90 ของ ประชากรกลุ่มเป้าหมาย อายุ 35 ปีขึ้นไป ได้รับการตรวจคัดกรองความเสี่ยงโรคเบาหวาน , โรคซึมเศร้า , คัดกรองภาวะสุขภาพผู้สูงอายุ
  2. กลุ่มที่มีภาวะเสี่ยง (สงสัยป่วย) ได้รับการติดตามและการปรับเปลี่ยนพฤฒิกรรมสุขภาพ

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อค้นหาผู้ที่มีภาวะเสี่ยงต่อโรคเบาหวาน
ตัวชี้วัด : คัดกรอง ค้นหาผู้ที่มีภาวะเสี่ยงได้อย่างน้อยร้อยละ 90
0.00

 

2 เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของผู้ที่มีภาวะเสี่ยง ไม่ให้ป่วยด้วยโรคเบาหวาน
ตัวชี้วัด : ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของผู้ที่มีภาวะเสี่ยงอย่างน้อยร้อยละ 90
0.00

 

3 เพื่อให้สามารถดูแลผู้ป่วยรายใหม่ได้อย่างเหมาะสมและทันท่วงที
ตัวชี้วัด : ผู้ป่วยรายใหม่ได้รับการดูแลทันท่วงทีร้อยละ 100
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 1286
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 1,286
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อค้นหาผู้ที่มีภาวะเสี่ยงต่อโรคเบาหวาน (2) เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของผู้ที่มีภาวะเสี่ยง ไม่ให้ป่วยด้วยโรคเบาหวาน (3) เพื่อให้สามารถดูแลผู้ป่วยรายใหม่ได้อย่างเหมาะสมและทันท่วงที

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมตรวจคัดกรองความเสี่ยงในกลุ่มประชากร อายุ 35 ปีขึ้นไป

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการร่มเมืองร่วมใจ ห่างไกลเบาหวาน จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 67- L3360 - 2 - 19

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( ประธานชมรมอาสาสมัครสาธารณสุข โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านลำ(นางจริยา เกื้อสุข) )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด