กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สุคิริน


“ โครงการสุขภาพดีด้วยความรอบรู้ด้านอาหารและสุขภาพ (Food and Health Literacy) ลดความเสี่ยง NCDs ในชุมชน ”

ตำบลสุคิริน อำเภอสุคิริน จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นางกรณัท สายแวว

ชื่อโครงการ โครงการสุขภาพดีด้วยความรอบรู้ด้านอาหารและสุขภาพ (Food and Health Literacy) ลดความเสี่ยง NCDs ในชุมชน

ที่อยู่ ตำบลสุคิริน อำเภอสุคิริน จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 67-L8281-2-07 เลขที่ข้อตกลง 7/2567

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการสุขภาพดีด้วยความรอบรู้ด้านอาหารและสุขภาพ (Food and Health Literacy) ลดความเสี่ยง NCDs ในชุมชน จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลสุคิริน อำเภอสุคิริน จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สุคิริน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการสุขภาพดีด้วยความรอบรู้ด้านอาหารและสุขภาพ (Food and Health Literacy) ลดความเสี่ยง NCDs ในชุมชน



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการสุขภาพดีด้วยความรอบรู้ด้านอาหารและสุขภาพ (Food and Health Literacy) ลดความเสี่ยง NCDs ในชุมชน " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลสุคิริน อำเภอสุคิริน จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 67-L8281-2-07 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 20,845.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สุคิริน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

จากสถานการณ์โรค NCD ในชุมชน มีผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงจำนวน 76 คนคิดเป็นร้อยละ 34.38 ผู้ป่วยเบาหวานจำนวน 33 คนคิดเป็นร้อยละ 14.93 และเป็นโรคความดันโลหิตสูงร่วมกับโรคเบาหวานจำนวน 35 คนคิดเป็นร้อยละ 15.83ซึ่งผู้ป่วยทั้ง 3 กลุ่มนี้ได้รับการรักษาและติดตามการรับประทานยาจากโรงพยาบาลสุคิรินอย่างต่อเนื่องทุกเดือนโดยส่วนใหญ่ผู้ที่ป่วยเป็นโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน และโรคความดันโลหิตสูงร่วมกับโรคเบาหวานพบในประชากรในกลุ่มอายุ30-90 ปี เมื่อช่วงเดือนมีนาคม 2566 เจ้าหน้าที่โรงพยาบาลสุคิรินร่วมกับ อสม.บ้านสันติได้ทำการคัดกรองกลุ่มเป้าหมายผู้ที่มีอายุ 35 ปีขึ้นไป(อายุ35-90 ปี)จำนวน 138 ราย ผู้ที่เสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูงจำนวน 61 รายคิดเป็นร้อยละ 44.20 และผู้ที่เสี่ยงเป็นโรคเบาหวานจำนวน 1 รายคิดเป็นร้อยละ 0.72 และผู้ที่มีผลตรวจปกติจำนวน 76 คนคิดเป็นร้อยละ 55.07 จากการสัมภาษณ์ในกลุ่มที่เสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานส่วนใหญ่จะมีการรับประทานอาหารที่ปรุงเองมีรสจัด หวาน มัน เค็มนำและมีการใส่ผงปรุงรสต่างๆ เช่นผงชูรส รสดี และยังมีการรับประทานน้ำบูดูทุกมื้อทุกวัน พฤติกรรมสุขภาพของประชาชนโดยรวมของประชาชนในหมู่บ้านสันติ การบริโภคอาหารรสจัด หวาน มัน เค็ม ดื่มสุราที่ผลิตเอง ขาดการออกกำลังกาย มีความเครียดจากสภาพเศรษฐกิจและโรคโควิด-19 และยังขาดความรู้ในเรื่องโรค NCD การปฏิบัติตัวที่ถูกต้อง ความรอบรู้เรื่อง อาหารและสุขภาพ ทำให้ประชาชนไม่มีความตระหนักในการดูแลสุขภาพของตนเองและบุคคลในครอบครัว เพื่อให้ประชาชนได้มีความรอบรู้ด้านอาหารและสุขภาพมากยิ่งขึ้นต้องมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ วิถีการดำเนินชีวิตและการปรับ แบบแผนการบริโภคอาหารเป็นปัจจัยสำคัญในการป้องกันและลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคNCDซึ่งควรมีการปรับเปลี่ยนให้เหมาะสมกับภาวะสุขภาพของแต่ละบุคคล ทั้งนี้การบริโภคอาหารเป็นสิ่งที่สะสมมานานจนเกิดเป็นความเคยชิน การปรับ พฤติกรรมการบริโภคควรดำเนินไปอย่างค่อยเป็นค่อยไปด้วยความตระหนักและสร้างแรงจูงใจในการปรับเปลี่ยนด้วยตัวของตนเอง ภายใต้การสนับสนุนจากครอบครัวและสังคมเพื่อให้เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหารอย่างยั่งยืนเพื่อให้ประชาชนมีสุขภาพที่ดีไม่เป็นกลุ่มเสี่ยงและไม่เป็นผู้ป่วยรายใหม่

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้คนในชุมชนมีความรอบรู้ด้านการบริโภคอาหารที่มีผลดีต่อสุขภาพ
  2. เพื่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการบริโภคที่เหมาะสมกับภาวะสุขภาพของตนเอง
  3. เพื่อให้คนในชุมชนมีความรู้เกี่ยวกับโรค NCDs

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมให้ความรอบรู้ด้านอาหารและสุขภาพ
  2. สาธิตอาหารเพื่อสุขภาพเพื่อป้องกันโรค NCDs
  3. ผู้จัดทำโครงการติดตามพฤติกรรมการบริโภคของผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 3 ครั้ง

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 50
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 50
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

 


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้คนในชุมชนมีความรอบรู้ด้านการบริโภคอาหารที่มีผลดีต่อสุขภาพ
ตัวชี้วัด : -ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ในเรื่องการดูแลสุขภาพและพฤติกรรมการบริโภคที่เหมาะสมมากขึ้น -ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรอบรู้ด้านอาหารในการดูแลสุขภาพมากขึ้น
80.00 80.00

 

2 เพื่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการบริโภคที่เหมาะสมกับภาวะสุขภาพของตนเอง
ตัวชี้วัด : -ผู้เข้าร่วมโครงการเกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการบริโภคที่เหมาะสมกับภาวะสุขภาพตนเอง
80.00 80.00

 

3 เพื่อให้คนในชุมชนมีความรู้เกี่ยวกับโรค NCDs
ตัวชี้วัด : -ลดภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วย NCDs และลดผู้ป่วยด้วยโรค NCDs รายใหม่
80.00 50.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 100
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 50
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 50
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้คนในชุมชนมีความรอบรู้ด้านการบริโภคอาหารที่มีผลดีต่อสุขภาพ (2) เพื่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการบริโภคที่เหมาะสมกับภาวะสุขภาพของตนเอง (3) เพื่อให้คนในชุมชนมีความรู้เกี่ยวกับโรค NCDs

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรอบรู้ด้านอาหารและสุขภาพ (2) สาธิตอาหารเพื่อสุขภาพเพื่อป้องกันโรค NCDs (3) ผู้จัดทำโครงการติดตามพฤติกรรมการบริโภคของผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 3 ครั้ง

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการสุขภาพดีด้วยความรอบรู้ด้านอาหารและสุขภาพ (Food and Health Literacy) ลดความเสี่ยง NCDs ในชุมชน จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 67-L8281-2-07

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางกรณัท สายแวว )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด