กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลห้วยยอด


“ โครงการคัดกรองโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ประจำปีงบประมาณ 2567 ”

ตำบลห้วยยอด อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง

หัวหน้าโครงการ
นางปรียภัทร์ พลเดช

ชื่อโครงการ โครงการคัดกรองโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ประจำปีงบประมาณ 2567

ที่อยู่ ตำบลห้วยยอด อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ L1870-01- เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 7 พฤศจิกายน 2566 ถึง 30 กันยายน 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการคัดกรองโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ประจำปีงบประมาณ 2567 จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลห้วยยอด อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลห้วยยอด ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการคัดกรองโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ประจำปีงบประมาณ 2567



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการคัดกรองโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ประจำปีงบประมาณ 2567 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลห้วยยอด อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง รหัสโครงการ L1870-01- ระยะเวลาการดำเนินงาน 7 พฤศจิกายน 2566 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 80,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลห้วยยอด เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

กลุ่มโรค NCDs (Non-Communicable diseases) หรือ ชื่อภาษาไทยเรียกว่า กลุ่มโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง นั้นเป็นชื่อเรียก กลุ่มโรคที่ไม่ได้มีสาเหตุมาจากการติดเชื้อ ไม่ได้เกิดจากเชื้อโรค ไม่สามารถติดต่อได้ผ่านการสัมผัส คลุกคลี หรือ ติดต่อ ผ่านตัวนำโรค (พาหนะ) หรือสารคัดหลั่งต่างๆ หากแต่เกิดจากปัจจัยต่าง ๆ ภายในร่างกาย ซึ่งส่วนใหญ่เป็นผลจากการใช้ชีวิตที่มีพฤติกรรมเสี่ยงอย่างเหล้า บุหรี ขาดการออกกำลังกาย อาหารหวาน มัน เค็มจัด และมีความเครียด โรคไม่ติดต่อเรื้อรังมักจะค่อย ๆ มีอาการและรุนแรงขึ้นทีละน้อยหากไม่ได้มีการรักษาควบคุม องค์การอนามัยโลก (WHO) เล็งเห็นว่ากลุ่มโรค NCDs นั้น ถือเป็นปัญหาใหญ่ที่กำลังทวีความรุนแรงมากขึ้น สังเกตจาก สถิติผู้เสียชีวิตจากกลุ่มโรค NCDs ในปี พ.ศ. 2552 พบว่าสาเหตุการเสียชีวิตของประชากรโลกทั้งหมด มีถึง 63%ที่เกิดจากกลุ่มโรค NCDs และที่สำคัญกว่านั้น คือ กว่า 80% เป็น ประชากรของประเทศที่กำลังพัฒนา สำหรับประเทศไทยเอง สถิติล่าสุดพบว่ามีถึง 14 ล้าน คนที่เป็นโรค ในกลุ่มโรคNCDs และที่สำคัญยังถึอเป็นสาเหตุหลักการเสียชีวิตของ ประชากรทั้งประเทศ โดยจากสถิติปี พ.ศ. 2552 พบว่า มีประชากรเสีย ชีวิต จากกลุ่มโรคNCDsมากกว่า 300,000 คน หรือ คิดเป็น 73% ของการเสียชีวิต ของประชากรไทยทั้งหมดในปี 2552 คิดเป็นมูลค่า ความเสียหายทางเศรษฐกิจถึง 200,000 ล้านบาทต่อปี ทั้งสถิติการ เสียชีวิตดังกล่าวยังแสดงว่าประเทศไทยมีผู้เสียชีวิตมากกว่าค่าเฉลี่ย ของทั้งโลกและมีแน้วโน้มจะสูงขึ้นในอนาคต ซึ่งโรคในกลุ่ม โรคNCDs ที่มีอัตราผู้่ป่วยและผู้เสียชีวิตสูงสุด 6 โรค ได้แก่ 1. โรคเบาหวาน (Diabetes Mellitus) 2.โรคหลอดเลือดสมองและหัวใจ (Cardiovascular & Cerebrovascular Diseases) 3.โรคถุงลมโป่งพอง (Emphysema) 4.โรคมะเร็ง (Cancer) 5.โรคความดันโลหิตสูง (Hypertension) 6.โรคอ้วนลงพุง (Obesity) แม้ค่าสถิติการป่วยและเสียชีวิตจากกลุ่มโรคNCDsจะสูงมาก แต่แท้จริงแล้ว กลุ่มโรคNCDsนั้นสามารถป้องกันได้เพราะ สาเหตุหรือปัจจัยเสี่ยงหลักนั้น เกิดจากพฤติกรรมเสี่ยงของตัวเองเรานั้นเอง ซึ่งหากเราสามารถลด หรือ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสี่ยงเหล่านี้ได้ ก็จะเป็นการลดโอกาสเสี่ยงในการเป็นกลุ่มโรคNCDs ได้มากถึง 80% เลยทีเดียว ลดโอกาสในการเป็นมะเร็ง 40% โรคหลอดเลือดสมองและหัวใจ และโรคเบาหวาน ประเภทที่ 2 ได้ถึง 80% ดังนั้น กองสาธารณสุขและสื่งแวดล้อม เทศบาลตำบลห้วยยอด จึงเล็งเห็นว่าการกระตุ้นให้ประชาชนปรับเปลี่ยนพฤติกรรม จะเป็นวิธีลดอัตราผู้ป่วยและผู้เสียชีวิตที่ต้นเหตุ มีความยั่งยืน ซึ่งองค์การอนามัยโลกได้ทำนายไว้ว่าปี พ.ศ. 2573 ประชากรโลกจำนวน 23 ล้านคนจะเสียชีวิตจากโรคหลอดเลือดสมองและหัวใจ โดยร้อยละ 85 อยู่ในประเทศกำลังพัฒนาวัยแรงงานจึงได้จัดทำโครงการฯ เพื่อการคัดกรองกลุ่มเสี่ยงและโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อให้ประชาชนอายุ 15-34 ปี ได้รับการคัดกรองความเสี่ยงด้านสุขภาพ
  2. 2.เพื่อให้ประชาชนอายุ 35 ปี ขึ้นไปได้การคัดกรองเสี่ยงด้านสุขภาพ
  3. 3.เพื่อให้ประชากรกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน ความดันโลหิต มีพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสมและมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ
  4. 4.เพื่อค้นหาผู้ป่วยรายใหม่และเข้ารับการรักษาตามสิทธิ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 1,200
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1.อสม.เทศบาลตำบลห้วยยอด และเจ้าหน้าที่ผู้เกี่ยวข้อง ที่ได้รับการอบรมและฝึกปฏิบัติตามโครงการฯ มีความรู้มีทักษะ ในการคัดกรองโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูงรวมทั้งภาวะเสี่ยงต่าง ๆ ของโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง สามารถนำความรู้ที่ได้รับไปแนะนำผู้อื่นได้อย่างถูกต้องเหมาะสม 2.ประชาชนอายุ 35 ปี ขึ้นไป ที่อาศัยอยู่ในเขตเทศบาลทั้ง 8 ชุมชน ได้รับการตรวจคัดกรองความเสี่ยงทางสุขภาพเบื้องต้น


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1.เพื่อให้ประชาชนอายุ 15-34 ปี ได้รับการคัดกรองความเสี่ยงด้านสุขภาพ
    ตัวชี้วัด : 1.ร้อยละ 90 ของกลุ่มเป้าหมายได้รับการคัดกรองความเสี่ยงด้านสุขภาพ

     

    2 2.เพื่อให้ประชาชนอายุ 35 ปี ขึ้นไปได้การคัดกรองเสี่ยงด้านสุขภาพ
    ตัวชี้วัด : 2.ร้อยละ 95 ของกลุ่มเป้าหมายได้รับการคัดกรองความเสี่ยงด้านสุขภาพ

     

    3 3.เพื่อให้ประชากรกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน ความดันโลหิต มีพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสมและมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ
    ตัวชี้วัด : 3.ประชากรกลุ่มเสี่ยงสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปปรับพฤติกรรมด้านพฤติกรรมด้านสุขภาพไม่ถูกวินิจฉัยว่าเป็นกลุ่มผู้ป่วยเบาหวาน และความดันโลหิตสูงรายใหม่

     

    4 4.เพื่อค้นหาผู้ป่วยรายใหม่และเข้ารับการรักษาตามสิทธิ
    ตัวชี้วัด : 4.กลุ่มสงสัยผู้ป่วยรายใหม่ไปรับการตรวจวินิจฉัยยืนยันและเข้ารับการรักษาตามระบบต่อไป

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 1200
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 1,200
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อให้ประชาชนอายุ 15-34 ปี ได้รับการคัดกรองความเสี่ยงด้านสุขภาพ (2) 2.เพื่อให้ประชาชนอายุ 35 ปี ขึ้นไปได้การคัดกรองเสี่ยงด้านสุขภาพ (3) 3.เพื่อให้ประชากรกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน ความดันโลหิต มีพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสมและมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ (4) 4.เพื่อค้นหาผู้ป่วยรายใหม่และเข้ารับการรักษาตามสิทธิ

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการคัดกรองโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ประจำปีงบประมาณ 2567 จังหวัด ตรัง

    รหัสโครงการ L1870-01-

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางปรียภัทร์ พลเดช )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด