กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการรณรงค์ป้องกันแก้ไขปัญหายาเสพติด TO BE NUMBER ONE ปี 2567 ”
หมู่ที่ 1 ,2 ,5 และ 8 ตำบลคลองทราย อำเภอนาทวี จังหวัดสงขลา



หัวหน้าโครงการ
นางสุวลักษณ์ ยวงใย




ชื่อโครงการ โครงการรณรงค์ป้องกันแก้ไขปัญหายาเสพติด TO BE NUMBER ONE ปี 2567

ที่อยู่ หมู่ที่ 1 ,2 ,5 และ 8 ตำบลคลองทราย อำเภอนาทวี จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 67-L5196-02-05 เลขที่ข้อตกลง 08/2567

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2567

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการรณรงค์ป้องกันแก้ไขปัญหายาเสพติด TO BE NUMBER ONE ปี 2567 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน หมู่ที่ 1 ,2 ,5 และ 8 ตำบลคลองทราย อำเภอนาทวี จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.คลองทราย ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการรณรงค์ป้องกันแก้ไขปัญหายาเสพติด TO BE NUMBER ONE ปี 2567



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการรณรงค์ป้องกันแก้ไขปัญหายาเสพติด TO BE NUMBER ONE ปี 2567 " ดำเนินการในพื้นที่ หมู่ที่ 1 ,2 ,5 และ 8 ตำบลคลองทราย อำเภอนาทวี จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 67-L5196-02-05 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 38,800.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.คลองทราย เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ด้วยปัจจุบันสถานการณ์การเผยแพร่ระบาดของยาเสพติด ยังคงระดับความรุนแรงอย่างต่อเนื่อง รัฐบาลจึงกำหนดให้การป้องกันและแก้ไขยาเสพติด เป็นแนวนโยบายที่สำคัญและเร่งด่วนในการบริหารราชการแผ่นดิน โดยยึดหลัก "ผู้เสพ คือ ผู้ป่วยที่ต้องได้รับการบำบัดรักษา ผู้ค้า คือผู้ที่ต้องได้รับโทษตามกระบวนการยุติธรรม ซึ่งกำหนดให้เร่งรัดปราบปรามการค้ายาเสพติด และป้องกันไม่ให้กลุ่มเสี่ยงเข้าไปเป็นเหยื่อของยาเสพติด โดยใช้กระบวนการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนในสังคม ให้ร่วมดำเนินการในลักษณะบูรณาการ ควบคู่กับมาตรการทางกฎหมาย ซึ่งจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของยาเสพติดในประเทศไทย พบว่ามีเด็กและเยาวชน จำนวนไม่น้อยที่เข้าไปยุ่งเกี่ยวกับยาเสพติด ทั้งเกิดจากความตั้งใจ และเกิดจากการหลงผิดโดยรู้เท่าไม่ถึงการณ์ อีกทั้งยังมีปัจจัยเสี่ยงต่างๆที่จะทำให้เด็กและเยาวชน มีโอกาสเข้าไปติดยาเสพติดเพิ่มมากขึ้นอีก เช่นเด็กและเยาวชน เป็นวัยที่ต้องการเรียนรู้ อยากลอง ต้องการเรียกร้องความสนใจ การสร้างการยอมรับ กล้าทำในสิ่งที่ท้าทาย การชักจูง และการหลอกลวง เป็นต้น ดังนั้น เด็กและเยาวชนจำเป็นต้องได้รับการดูแลเอาใจใส่อย่างเพียงพอ ต้องได้รับการถ่ายทอดความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องและการรู้โทษที่ร้ายแรงของสิ่งเสพติดอย่างเหมาะสม การรู้จักการหลีกเลี่ยงสิ่งเสพติด และสิ่งสำคัญคือการสร้างภูมิคุ้มกันให้กับเด็กและเยาวชน โดยผนึกกำลังทุกภาคส่วน ให้ร่วมคิด ร่วมทำ ร่วมรับผิดชอบ และร่วมแรงร่วมใจเป็นพลังของแผ่นดิน ที่จะต่อสู้เพื่อเอาชนะปัญหายาเสพติดหลักการศาสนาเป็นส่วนหนึ่งของวิถีการดำเนินชีวิตที่สามารถทำให้เด็กและเยาวชนไม่ยุ่งเกี่ยวกับยาเสพติดได้และด้วยนโยบายในการแก้ไขปัญหายาเสพติดของรัฐตามยุทธศาสตร์ ๕ รั้วป้องกันคือ ๑.รั้วชายแดน ๒.รั้วชุมชน ๓.รั้วสังคม ๔.รั้วครอบครัว และ ๕.รั้วโรงเรียน ซึ่งจากทั้ง ๕ รั้วป้องกันนี้ จะเห็นได้ว่า รั้วชุมชนและรั้วโรงเรียน เป็นยุทธศาสตร์ที่รัฐบาลให้ความสำคัญเป็นอย่างยิ่ง เนื่องจากเป็นรากฐานและเป็นทรัพยากรที่สำคัญในการพัฒนาประเทศ อาสาสมัครสาธารณสุข รพ.สต.บ้านลำชิงจึงมีความจำเป็นที่จะหาแนวทางป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดไม่ให้เกิดขึ้นในหมู่บ้าน เพื่อเป็นการสร้างภูมิคุ้มกันให้กับเยาวชนไทย ส่งเสริมกิจกรรมการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดให้เกิดขึ้นอย่างเป็นรูปธรรม จึงได้จัดทำโครงการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด TO BE NUMBER ONE ประจำปี 2567 ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อลดเด็กและเยาวชน อายุ 15-25 ปีในชุมชน ที่เสี่ยงต่อการใช้สารเสพติด
  2. เพื่อแก้ปัญหาเยาวชนที่มีภาวะเสี่ยงต่อสารเสพติด เช่น กระท่อม เฮโรอีน ยาบ้า เป็นต้น

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมให้ความรู้กลุ่มเป้าหมาย
  2. กิจกรรมส่งเสริมอาชีพแก่ผู้เข้าร่วมโครงการ (สกรีนเสื้อ)
  3. กิจกรรมส่งเสริมอาชีพแก่ผู้เข้าร่วมโครงการ (สรีนกระเป๋าผ้า)
  4. กิจกรรมเดินรณรงค์ประชาสัมพันธ์ต้ายภัยยาเสพติด

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 50
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ผู้เข้าร่วมโครงการได้แสดงออกตามความสามารถ ความถนัด และความสนใจ
2.ผู้เข้าร่วมโครงการมีแกนนำจิตอาสาด้านยาเสพติด ช่วยสร้างภูมิปัญญาและภูมิคุ้มกัน พัฒนาทักษะชีวิต รู้จักวิธีการปฏิเสธ
3.ผู้เข้าร่วมโครงการ สามารถเป็นแกนนำในการป้องกันแก้ไขปัญหายาเสพติดในการเรียนรู้และการเปลี่ยนแปลงตนเอง


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมส่งเสริมอาชีพแก่ผู้เข้าร่วมโครงการ (สรีนกระเป๋าผ้า)

วันที่ 1 มีนาคม 2567 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรมส่งเสริมอาชีพแก่ผู้เข้าร่วมโครงการ (สรีนกระเป๋าผ้า)

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถสกรีนกระเป๋าผ้าได้

 

0 0

2. กิจกรรมให้ความรู้กลุ่มเป้าหมาย

วันที่ 1 พฤษภาคม 2567 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรมให้ความรู้กลุ่มเป้าหมาย

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

กิจกรรมให้ความรู้กลุ่มเป้าหมาย

 

0 0

3. กิจกรรมส่งเสริมอาชีพแก่ผู้เข้าร่วมโครงการ (สกรีนเสื้อ)

วันที่ 19 พฤษภาคม 2567 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรมส่งเสริมอาชีพแก่ผู้เข้าร่วมโครงการ (สกรีนเสื้อ)

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถสกรีนเสื้อได้

 

0 0

4. กิจกรรมเดินรณรงค์ประชาสัมพันธ์ต้ายภัยยาเสพติด

วันที่ 1 กรกฎาคม 2567 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรมเดินรณรงค์ประชาสัมพันธ์ต้ายภัยยาเสพติด

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เดินรณรงค์ประชาสัมพันธ์ต้ายภัยยาเสพติด

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

มีผู้เข้ารับการอบรม จำนวน 50 คน มีการให้ความรู้เกี่ยวกับตัวยาเสพติดและโทษพิษภัยยาเสพติด ความรู้ทักษะชีวิตเพื่อการป้องกันยาเสพติด ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับละครสะท้อนสังคม ทักษะเบื้องต้นในการเป็นผู้นำ มารยาทในสังคมของผู้นำ มีกิจกรรมฝึกอบรมส่งเสริมอาชีพ การสกรีนเสื้อ การสกรีนกระเป๋าผ้า การทำพวงกุญแจ และการทำพัด     พบว่า สามารถดำเนินงานได้สำเร็จลุล่วงตามวัตถุประสงค์ของโครงการฯ เนื่องจากเป็นกิจกรรมเพื่อปลุกจิตสำนึกในเด็กและเยาวชนให้มีความรู้ ความเข้าใจ และความตระถึงพิษภัยของยาเสพติด สร้างภูมิคุ้มกันแก่เด็กและเยาวชนให้ห่างไกลยาเสพติดและป้องกันการแพร่ระบาดของยาเสพติดในชุมชน

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อลดเด็กและเยาวชน อายุ 15-25 ปีในชุมชน ที่เสี่ยงต่อการใช้สารเสพติด
ตัวชี้วัด : ร้อยละของเด็กและเยาวชน อายุ 15-25 ปีในชุมชน ที่เสี่ยงต่อการใช้สารเสพติด
50.00 70.00 50.00

 

2 เพื่อแก้ปัญหาเยาวชนที่มีภาวะเสี่ยงต่อสารเสพติด เช่น กระท่อม เฮโรอีน ยาบ้า เป็นต้น
ตัวชี้วัด : ร้อยละของเยาวชนที่มีภาวะเสี่ยงต่อสารเสพติด เช่น กระท่อม เฮโรอีน ยาบ้า เป็นต้น
50.00 70.00 50.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 50 50
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 50 50
กลุ่มวัยทำงาน 0
กลุ่มผู้สูงอายุ 0
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อลดเด็กและเยาวชน อายุ 15-25 ปีในชุมชน ที่เสี่ยงต่อการใช้สารเสพติด (2) เพื่อแก้ปัญหาเยาวชนที่มีภาวะเสี่ยงต่อสารเสพติด เช่น กระท่อม เฮโรอีน ยาบ้า เป็นต้น

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมให้ความรู้กลุ่มเป้าหมาย (2) กิจกรรมส่งเสริมอาชีพแก่ผู้เข้าร่วมโครงการ (สกรีนเสื้อ) (3) กิจกรรมส่งเสริมอาชีพแก่ผู้เข้าร่วมโครงการ (สรีนกระเป๋าผ้า) (4) กิจกรรมเดินรณรงค์ประชาสัมพันธ์ต้ายภัยยาเสพติด

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการรณรงค์ป้องกันแก้ไขปัญหายาเสพติด TO BE NUMBER ONE ปี 2567 จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 67-L5196-02-05

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสุวลักษณ์ ยวงใย )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด