โครงการเด็กปฐมวัยตำบลคลองมานิง โภชนาการดี พัฒนาการสมวัย
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการเด็กปฐมวัยตำบลคลองมานิง โภชนาการดี พัฒนาการสมวัย ”
ตำบลคลองมานิง อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี
หัวหน้าโครงการ
นางต่วนสมาภรณ์ เจะเมาะ
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.คลองมานิง
กันยายน 2567
ชื่อโครงการ โครงการเด็กปฐมวัยตำบลคลองมานิง โภชนาการดี พัฒนาการสมวัย
ที่อยู่ ตำบลคลองมานิง อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 67-L3010-01-05 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2567
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการเด็กปฐมวัยตำบลคลองมานิง โภชนาการดี พัฒนาการสมวัย จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลคลองมานิง อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.คลองมานิง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการเด็กปฐมวัยตำบลคลองมานิง โภชนาการดี พัฒนาการสมวัย
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการเด็กปฐมวัยตำบลคลองมานิง โภชนาการดี พัฒนาการสมวัย " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลคลองมานิง อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 67-L3010-01-05 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 19,180.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.คลองมานิง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ตั้งแต่ปีงบประมาณ 2560 ทางสาธารณสุขจังหวัดปัตตานี ได้ริเริ่มดำเนินโครงการปัตตานีสมาร์ทคิดส์ (pattani smart kids) โดยมีวัตถุประสงค์หลักคือ การเพิ่มความฉลาดทางเชาวน์ปัญญา การคิด การใช้เหตุผล การคำนวณ การเชื่อมโยง (Intelligence Quotient, IQ) และพัฒนาความฉลาดทางอารมณ์ (Emotional Quotient, EQ) เพื่อให้เด็กปัตตานีรอบรู้ รอบคิด สามารถตัดสินใจเท่าทันเด็กสมัยใหม่ และเด็กที่อยู่ในเมืองได้
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดปัตตานี ได้คิดรูปแบบการดูแลเด็กปฐมวัย เพื่อให้ครอบคลุมการดูแลเด็กโดยดำเนินกิจกรรมครอบคลุมงาน 4 ด้าน คือ 1.ด้านการได้รับวัคซีนป้องกันโรคตามเกณฑ์ 2.ด้านการมีสุขภาพดี สูงดี สมส่วน สมวัย 3.ด้านการมีพัฒนาการสมวัย และ 4.ด้านสุขภาพช่องปากดี ฟันไม่ผุ ดำเนินกิจกรรมดังกล่าวตั้งแต่เด็กแรกเกิด จนกระทั่งเด็กมีอายุครบ 5 ปี ภายใต้โครงการ Smart kids ที่ผ่านมา ตำบลคลองมานิง พบว่า ด้านโภชนาการมีผลงานน้อยที่สุด คือ เด็กปฐมวัยมีรูปร่าง สูงดีสมส่วน จากผลงานการคัดกรองโภชนาการ ในงวดที่ 1 ประจำเดือนตุลาคม ถึงเดือนธันวาคม 2566 พบว่า จากเป้าหมายเด็ก 0-2 ปี จำนวน 163 คน ได้รับการเฝ้าระวัง 155 คน คิดเป็นร้อยละ 95.09 มีภาวะโภชนาการสูงดีสมส่วน จำนวนคน คิดเป็นร้อยละ 64.52 และมีภาวะโภชนาการอายุ/น้ำหนัก อยู่ในเกณฑ์น้อยและค่อนน้อย คิดเป็นร้อยละ 6.45, 12.90 ตามลำดับ ส่วนผลงานการคัดกรองพัฒนาการ ผลงานในปีงบประมาณ 2566 พบว่า เป้าหมายเด็กปฐมวัยที่อยู่ในช่วงคัดกรองพัฒนาการด้วย DSPM จำนวน 310 ราย ได้รับการคัดกรองจำนวน 238 ราย คิดเป็นร้อยละ 76.77 พัฒนาการสมวัยครั้งแรกจำนวน 198 ราย คิดเป็นร้อยละ 63.87 สงสัยพัฒนาการล่าช้าจำนวน 40 ราย คิดเป็นร้อยละ 16.81 จากสถานการณ์ดังกล่าวจึงมีความจำเป็นอย่างยิ่งที่ต้องมีการวางแผนแก้ปัญหาให้ตรงจุด
จากข้อมูลข้างต้น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลคลองมานิง จึงได้จัดทำโครงการ เด็กปฐมวัย ตำบลคลองมานิง โภชนาการดี พัฒนาการสมวัย เพื่อให้สอดคล้องกับนโยบายสาธารณสุขจังหวัดปัตตานี เพิ่มการมีส่วนร่วมของชุมชน และเพิ่มศักยภาพของทีมอาสาสมัครประจำหมู่บ้าน และผู้ปกครอง ให้เด็กปฐมวัย ตำบลคลองมานิง ได้รับการคัดกรองและเฝ้าระวังภาวะโภชนาการที่ถูกต้อง และส่งเสริมพัฒนาการให้เป็นไปตามวัย ซึ่งจะส่งผลต่อการมีสุขภาพที่ดีในอนาคต
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านทุกคน ในการเฝ้าระวังและคัดกรองโภชนาการและพัฒนาการเด็ก
- กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ระหว่าง ผู้ปกครองเด็กหรือผู้เลี้ยงดูเด็กหลัก
- กิจกรรมติดตาม ประเมินภาวะโภชนาการและพัฒนาการเด็ก
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
30
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
30
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน
33
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- อาสาสมัครประจำหมู่บ้านมีศักยภาพสามารถดูแล ติดตาม เป็นพี่เลี้ยงเรื่องสุขภาพแก่กลุ่มเป้าหมายได้อย่างชำนาญ
- ผู้ปกครองเด็กหรือผู้เลี้ยงดูเด็กหลักมีทักษะในการดูแลสุขภาพเด็กให้เป็นไปตามวัย
- เด็กกลุ่มเป้าหมาย มีสุขภาพร่างกายแข็งแรง สูงดี สมส่วนและพัฒนาการสมวัย ผ่านเกณฑ์ “pattani smart kids”
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
93
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
30
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
0
กลุ่มวัยทำงาน
0
กลุ่มผู้สูงอายุ
0
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
0
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
30
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
0
อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน
33
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านทุกคน ในการเฝ้าระวังและคัดกรองโภชนาการและพัฒนาการเด็ก (2) กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ระหว่าง ผู้ปกครองเด็กหรือผู้เลี้ยงดูเด็กหลัก (3) กิจกรรมติดตาม ประเมินภาวะโภชนาการและพัฒนาการเด็ก
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการเด็กปฐมวัยตำบลคลองมานิง โภชนาการดี พัฒนาการสมวัย จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 67-L3010-01-05
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางต่วนสมาภรณ์ เจะเมาะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการเด็กปฐมวัยตำบลคลองมานิง โภชนาการดี พัฒนาการสมวัย ”
ตำบลคลองมานิง อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี
หัวหน้าโครงการ
นางต่วนสมาภรณ์ เจะเมาะ
กันยายน 2567
ที่อยู่ ตำบลคลองมานิง อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 67-L3010-01-05 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2567
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการเด็กปฐมวัยตำบลคลองมานิง โภชนาการดี พัฒนาการสมวัย จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลคลองมานิง อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.คลองมานิง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการเด็กปฐมวัยตำบลคลองมานิง โภชนาการดี พัฒนาการสมวัย
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการเด็กปฐมวัยตำบลคลองมานิง โภชนาการดี พัฒนาการสมวัย " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลคลองมานิง อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 67-L3010-01-05 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 19,180.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.คลองมานิง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ตั้งแต่ปีงบประมาณ 2560 ทางสาธารณสุขจังหวัดปัตตานี ได้ริเริ่มดำเนินโครงการปัตตานีสมาร์ทคิดส์ (pattani smart kids) โดยมีวัตถุประสงค์หลักคือ การเพิ่มความฉลาดทางเชาวน์ปัญญา การคิด การใช้เหตุผล การคำนวณ การเชื่อมโยง (Intelligence Quotient, IQ) และพัฒนาความฉลาดทางอารมณ์ (Emotional Quotient, EQ) เพื่อให้เด็กปัตตานีรอบรู้ รอบคิด สามารถตัดสินใจเท่าทันเด็กสมัยใหม่ และเด็กที่อยู่ในเมืองได้
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดปัตตานี ได้คิดรูปแบบการดูแลเด็กปฐมวัย เพื่อให้ครอบคลุมการดูแลเด็กโดยดำเนินกิจกรรมครอบคลุมงาน 4 ด้าน คือ 1.ด้านการได้รับวัคซีนป้องกันโรคตามเกณฑ์ 2.ด้านการมีสุขภาพดี สูงดี สมส่วน สมวัย 3.ด้านการมีพัฒนาการสมวัย และ 4.ด้านสุขภาพช่องปากดี ฟันไม่ผุ ดำเนินกิจกรรมดังกล่าวตั้งแต่เด็กแรกเกิด จนกระทั่งเด็กมีอายุครบ 5 ปี ภายใต้โครงการ Smart kids ที่ผ่านมา ตำบลคลองมานิง พบว่า ด้านโภชนาการมีผลงานน้อยที่สุด คือ เด็กปฐมวัยมีรูปร่าง สูงดีสมส่วน จากผลงานการคัดกรองโภชนาการ ในงวดที่ 1 ประจำเดือนตุลาคม ถึงเดือนธันวาคม 2566 พบว่า จากเป้าหมายเด็ก 0-2 ปี จำนวน 163 คน ได้รับการเฝ้าระวัง 155 คน คิดเป็นร้อยละ 95.09 มีภาวะโภชนาการสูงดีสมส่วน จำนวนคน คิดเป็นร้อยละ 64.52 และมีภาวะโภชนาการอายุ/น้ำหนัก อยู่ในเกณฑ์น้อยและค่อนน้อย คิดเป็นร้อยละ 6.45, 12.90 ตามลำดับ ส่วนผลงานการคัดกรองพัฒนาการ ผลงานในปีงบประมาณ 2566 พบว่า เป้าหมายเด็กปฐมวัยที่อยู่ในช่วงคัดกรองพัฒนาการด้วย DSPM จำนวน 310 ราย ได้รับการคัดกรองจำนวน 238 ราย คิดเป็นร้อยละ 76.77 พัฒนาการสมวัยครั้งแรกจำนวน 198 ราย คิดเป็นร้อยละ 63.87 สงสัยพัฒนาการล่าช้าจำนวน 40 ราย คิดเป็นร้อยละ 16.81 จากสถานการณ์ดังกล่าวจึงมีความจำเป็นอย่างยิ่งที่ต้องมีการวางแผนแก้ปัญหาให้ตรงจุด
จากข้อมูลข้างต้น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลคลองมานิง จึงได้จัดทำโครงการ เด็กปฐมวัย ตำบลคลองมานิง โภชนาการดี พัฒนาการสมวัย เพื่อให้สอดคล้องกับนโยบายสาธารณสุขจังหวัดปัตตานี เพิ่มการมีส่วนร่วมของชุมชน และเพิ่มศักยภาพของทีมอาสาสมัครประจำหมู่บ้าน และผู้ปกครอง ให้เด็กปฐมวัย ตำบลคลองมานิง ได้รับการคัดกรองและเฝ้าระวังภาวะโภชนาการที่ถูกต้อง และส่งเสริมพัฒนาการให้เป็นไปตามวัย ซึ่งจะส่งผลต่อการมีสุขภาพที่ดีในอนาคต
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านทุกคน ในการเฝ้าระวังและคัดกรองโภชนาการและพัฒนาการเด็ก
- กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ระหว่าง ผู้ปกครองเด็กหรือผู้เลี้ยงดูเด็กหลัก
- กิจกรรมติดตาม ประเมินภาวะโภชนาการและพัฒนาการเด็ก
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | 30 | |
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 30 | |
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | ||
อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน | 33 |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- อาสาสมัครประจำหมู่บ้านมีศักยภาพสามารถดูแล ติดตาม เป็นพี่เลี้ยงเรื่องสุขภาพแก่กลุ่มเป้าหมายได้อย่างชำนาญ
- ผู้ปกครองเด็กหรือผู้เลี้ยงดูเด็กหลักมีทักษะในการดูแลสุขภาพเด็กให้เป็นไปตามวัย
- เด็กกลุ่มเป้าหมาย มีสุขภาพร่างกายแข็งแรง สูงดี สมส่วนและพัฒนาการสมวัย ผ่านเกณฑ์ “pattani smart kids”
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย |
---|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 93 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | 30 | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 0 | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 0 | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | 0 | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | 0 | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 30 | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | 0 | ||
อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน | 33 |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านทุกคน ในการเฝ้าระวังและคัดกรองโภชนาการและพัฒนาการเด็ก (2) กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ระหว่าง ผู้ปกครองเด็กหรือผู้เลี้ยงดูเด็กหลัก (3) กิจกรรมติดตาม ประเมินภาวะโภชนาการและพัฒนาการเด็ก
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการเด็กปฐมวัยตำบลคลองมานิง โภชนาการดี พัฒนาการสมวัย จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 67-L3010-01-05
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางต่วนสมาภรณ์ เจะเมาะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......