โครงการพัฒนาระบบบูรณาการป้องกันและควบคุมโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน รพ.สต.บ้านฝาละมี ปีงบประมาณ 2567
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการพัฒนาระบบบูรณาการป้องกันและควบคุมโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน รพ.สต.บ้านฝาละมี ปีงบประมาณ 2567 ”
หมู่ที่ 2 หมู่ที่ 3 และหมู่ที่ 11 ตำบลหารเทา อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง
หัวหน้าโครงการ
นางสุคนธ์ หนูเอียด
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลหารเทา
สิงหาคม 2567
ชื่อโครงการ โครงการพัฒนาระบบบูรณาการป้องกันและควบคุมโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน รพ.สต.บ้านฝาละมี ปีงบประมาณ 2567
ที่อยู่ หมู่ที่ 2 หมู่ที่ 3 และหมู่ที่ 11 ตำบลหารเทา อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 67-L3339-01-01 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ธันวาคม 2566 ถึง 31 สิงหาคม 2567
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการพัฒนาระบบบูรณาการป้องกันและควบคุมโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน รพ.สต.บ้านฝาละมี ปีงบประมาณ 2567 จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน หมู่ที่ 2 หมู่ที่ 3 และหมู่ที่ 11 ตำบลหารเทา อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลหารเทา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการพัฒนาระบบบูรณาการป้องกันและควบคุมโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน รพ.สต.บ้านฝาละมี ปีงบประมาณ 2567
บทคัดย่อ
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อแก้ปัญหาประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน (2) เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง (3) เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคหลอดเลือดสมอง(CVA) (4) เพื่อแก้ปัญหาผู้ป่วยเบาหวานที่เกิดภาวะแทรกซ้อน เช่น เบาหวานขึ้นจอประสาทตา แผล ไตวาย
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) คัดกรองโรคเบาหวาน และความดันโลหิตสูงในประชากรกลุ่มเป้าหมายในชุมชน (2) กิจกรรมสร้างกระแสในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม รักสุขภาพ (3) ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมตามหลัก3 อ. 2 ส.ในกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มสงสัยเป็นโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง (4) ติดตามวัดความดันโลหิตที่บ้าน กลุ่มเสี่ยง/สงสัยป่วยโรคความดันโลหิตสูง (5) ติดตามเจาะ FBS กลุ่มเสี่ยงเบาหวาน (6) อบรมให้ความรู้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมผู้ป่วยเบาหวานและตรวจประเมินภาวะแทรกซ้อน (7) ติดตามสุขภาพกลุ่มเสี่ยง/สงสัยเป็นโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานกิจกรรมรักษ์สุขภาพครั้งที่ 2 (8) สื่อสารความเสี่ยง ป้องกันโรคหลอดเลือดสมอง
ข้อเสนอแนะ ได้แก่
แต่อย่างไรก็ตามผลการคัดกรองโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงในประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไปใน
เขตพื้นที่รับผิดชอบ รพ.สต.บ้านฝาละมี ในระยะแรกยังไม่ผ่านเกณฑ์ตัวชี้วัดซึ่งกำหนดที่ร้อยละ 90.9
แม้ได้ปรับฐานข้อมูลกลุ่มเป้าหมายในพื้นที่ให้ถูกต้องร่วมกับการพัฒนาระบบคัดกรองโดยอาศัยการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่าย
ชุมชนแล้ว อาจเกิดจากอุปสรรคที่สำคัญในขั้นตอนการลงมือปฏิบัติ (ACT) คือ การเข้าถึงกลุ่มเป้าหมายใน
ชุมชน มีข้อจำกัดต่าง ๆ ได้แก่ ประชากรที่ย้ายถิ่นฐานมาจากพื้นที่ที่หลากหลาย ประชาชนไม่เห็น
ความสำคัญของการคัดกรองโรคเนื่องจากไม่มีอาการผิดปกติ อีกทั้งมีทัศนคติความเชื่อส่วนบุคคลและ
ปฏิสัมพันธ์ทางสังคมที่แตกต่างกัน
ข้อมูลที่นำเสนอนี้สรุปได้ว่า รพ.สต.บ้านฝาละมี ได้พัฒนาระบบการคัดกรองโรคเบาหวานและโรค
ความดันโลหิตสูงให้แก่ประชาชนในเขตพื้นที่รับผิดชอบ ทำให้ประชาชน ได้รับการคัด
กรองโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงเพิ่มขึ้น โดยมีปัจจัยความสำเร็จ คือ การให้บริการที่สอดคล้องกับ
บริบทชุมชน และตอบสนองความต้องการของประชาชนด้วยการให้บริการเชิงรุกอาศัยการมีส่วนร่วมของ
ภาคเครือข่ายชุมชนโดยให้ชุมชนเป็นฐานในการเฝ้าระวังคัดกรองโรคในกลุ่มเสี่ยง ส่งผลให้ประชาชนสามารถ
เข้าถึงบริการได้มากยิ่งขึ้น ก่อให้เกิดการดูแลสุขภาพตนเองในระดับชุมชน แต่อย่างไรก็ตามอุปสรรคของการ
พัฒนาในครั้งนี้ คือ ขาดการมีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพของประชาชนกลุ่มเป้าหมาย ดังนั้นควรบูรณาการ
หลักการมีส่วนร่วมของประชาชนในชุมชนให้มากขึ้นกว่าเดิม โดยเปิดโอกาสให้ประชาชนและชุมชนแสดงความ
คิดเห็นและวางแผนรับผิดชอบร่วมกับ รพ.สต.บ้านฝาละมี เพราะกระบวนการมีส่วนร่วมนี้จะก่อให้เกิดองค์
ความรู้ที่เหมาะกับบริบทของชุมชนเอง กระตุ้นการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ของคนในชุมชน และคลินิกโรคเรื้อรัง รพ.สต.บ้านฝาละมี รพ.ปากพะยูน
ประชาชนมีจิตสำนึกที่ดีต่อการดูแลสุขภาพตนเองจนในที่สุดเกิดการพัฒนาอย่างต่อเนื่องและยั่งยืน
ต่อไป
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง(NCDs) เป็นกัญหาสาธารณสุขที่สำคัญทั่วโลกรวมทั้งประเทศไทยด้วยพบว่าอัตราชุกของโรคเหล่านี้มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นเรื่อยๆโดยเฉพาะโรคดบาหวานโรคความดันโลหิตสูงและโรคหลอดเลือดสมององค์การอนามัยโลก (WHO)รายงานว่า ในปี 2552 ผู้ป่วยโรคเบาหวานมีจำนวน 108 ล้านคน เพิ่มขึ้นเป็น 422 ล้านคน ในปี 2557 มีผู้เสียชีวิตจากโรคเบาหวาน 1.5 ล้านคน นอกจากนี้ ยังพบว่าประชากรทั่วโลกที่มีอายุ 18 ปีขึ้นไป ป่วยด้วยโรคเบาหวานเพิ่มขึ้นจากร้อยละ 4.7 เป็นร้อยละ 8.5 หรือเมื่อเปรียบเทียบแล้ว พบว่า ปัจจุบันประชากรวัยผู้ใหญ่ 1 ใน 11 คนป่วยเป็นโรคเบาหวาน จากการกำเนินงานเพื่อตอบสนอง Service Plan สาขาโรคไม่ติดต่อเรื้อรังในปีงบประมาณ 2566 พบว่า จังหวัดพัทลุง มีอัตราตายของผู้ป่วยเบาหวานร้อยละ 3.95 อำเภอปกพะยูน มีอัตราตาย ร้อยละ 4.39 และ มีแนวโน้มผู้ป่วยโรคเบาหวานสูงขึ้นทุกๆปี จากสถิติตั้งแต่ 2561 – 2566ความชุกของผู้ป่วยเบาหวานมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นดังนี้ 4.615, 5.158, 5.483, 5.481 ต่อแสนประชากร ตามลำดับเนื่องมาจากปัจจัยเสี่ยงที่คุกคามภาวะสุขภาพเช่นพฤติกรรมการดำรงชีวิตที่อาจทำให้เกิดความเครียด ภาวะโภชนาการเกินการขาดการออกกำลังกายจากสถิติการเกิดโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงของ รพ.สต.บ้านฝาละมีพบว่า ประชากรอายุ 35 ปีขึ้นไป ที่ยังไม่เป็นเบาหวานจำนวน 1,615 คนได้รับการคัดกรองเจาะน้ำตาลปลายนิ้วจำนวน 1,521 คนคิดเป็นร้อยละ 94.18เป็นกลุ่มเสี่ยงจำนวน 537 คนพบผู้ป่วยรายใหม่จำนวน 5 คน คิดเป็นร้อยละ 0.94ในส่วนของผู้ป่วยเบาหวานสามารถควบคุมระดับน้ำตาลได้ดีจำนวน 87 คนคิดเป็นร้อยละ 49.15สำหรับการคัดกรองโรคความดันโลหิตสูง พบว่า ประชากรอายุ 35 ปีขึ้นไปที่ยังไม่เป็นโรคความดันโลหิตสูงจำนวน 1,396 คนได้รับการคัดกรอง จำนวน 1,305 คนคิดเป็นร้อยละ 93.48เป็นกลุ่มเสี่ยงจำนวน 537 คนพบผู้ป่วยรายใหม่จำนวน 6 คนคิดเป็นร้อยละ 7.32ในส่วนของผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงสามารถควบคุมระดับความดันโลหิตได้ดีจำนวน 322 คน คิดเป็นร้อยละ 79.51 เพื่อให้การดำเนินงานการป้องกันและควบคุมจัดการงานโรคไม่ติดต่อเรื่อรัง NCDsเป็นไปอย่างต่อเนื่อง เราต้องอาศัยการทำงานร่วมกันของภาคีเครือข่ายสุขภาพรวมทั้งประชาชนเพื่อพัฒนาระบบบูรณาการการป้องกันและควบคุมจัดการโรคเบาหวาน/โรคความดันโลหิตสูงเพื่อลดอุบัติการณ์การเกิดผู้ป่วยรายใหม่ลดภาวะแทรกซ้อนจากโรครวมทั้งการลดอัตราตายจากภาวะแทรกซ้อนของโรคอีกด้วย
ทางโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านฝาละมีจึงจัดทำโครงการพัฒนาระบบบูรณาการป้องกันและควบคุมโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน รพ.สต.บ้านฝาละมี ปีงบประมาณ 2567 ขึ้นเพื่อกระตุ้นให้ประชาชนทั่วไปและผู้ป่วยมีความตระหนักและสร้างความรอบรู้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพตามหลัก 3 อ 2สเพื่อให้ประชาชนสามารถป้องกันและควบคุมโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตได้
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อแก้ปัญหาประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน
- เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง
- เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคหลอดเลือดสมอง(CVA)
- เพื่อแก้ปัญหาผู้ป่วยเบาหวานที่เกิดภาวะแทรกซ้อน เช่น เบาหวานขึ้นจอประสาทตา แผล ไตวาย
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- คัดกรองโรคเบาหวาน และความดันโลหิตสูงในประชากรกลุ่มเป้าหมายในชุมชน
- กิจกรรมสร้างกระแสในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม รักสุขภาพ
- ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมตามหลัก3 อ. 2 ส.ในกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มสงสัยเป็นโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
- ติดตามวัดความดันโลหิตที่บ้าน กลุ่มเสี่ยง/สงสัยป่วยโรคความดันโลหิตสูง
- ติดตามเจาะ FBS กลุ่มเสี่ยงเบาหวาน
- อบรมให้ความรู้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมผู้ป่วยเบาหวานและตรวจประเมินภาวะแทรกซ้อน
- ติดตามสุขภาพกลุ่มเสี่ยง/สงสัยเป็นโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานกิจกรรมรักษ์สุขภาพครั้งที่ 2
- สื่อสารความเสี่ยง ป้องกันโรคหลอดเลือดสมอง
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
350
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
1,650
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.ร้อยละของประชากรอายุ 35 ปีขึ้นไป ในเขตรับผิดชอบได้รับการคัดกรองโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงเพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่า ร้อยละ 95
2.ร้อยละประชากรกลุ่มเป้าหมายมีความเสี่ยงโรคเบาหวานลดลง
3.ร้อยละของผู้ป่วยโรคเบาหวานสามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้ดี ไม่น้อยกว่าร้อยละ 50
4.ร้อยละของผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงสามารถควบคุมระดับความดันโลหิตได้ดีไม่น้อยกว่าร้อยละ 75
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. ติดตามวัดความดันโลหิตที่บ้าน กลุ่มเสี่ยง/สงสัยป่วยโรคความดันโลหิตสูง
วันที่ 1 ธันวาคม 2566 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
- อาสาสมัครติดตามวัดความดันโลหิตที่บ้าน กลุ่มเสี่ยง/สงสัยป่วยโรคความดันโลหิตสูง หลังได้รับคัดกรองภายใน 180 วัน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
-กลุ่มเสี่ยงและสงสัยเป็นโรคความดันโลหิตสูงจากการคัดกรองได้รับการติดตามวัดความดันที่บ้านมากกว่าร้อยละ80
-กลุ่มเสี่ยงและสงสัยเป็นโรคความดันโลหิตสูงมีภาวะสุขภาพดีขึ้น
0
0
2. ติดตามเจาะ FBS กลุ่มเสี่ยงเบาหวาน
วันที่ 1 มกราคม 2567 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
- ติดตามเจาะ FBS กลุ่มเสี่ยงเบาหวาน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- กลุ่มเสี่ยงและสงสัยเป้นโรคเบาหวาน จากการคัดกรองได้รับการติดตามเจาะ FBS มากกว่าร้อยละ 80
- กลุ่มเสี่ยงและสงสัยเป็นโรคเบาหวาน รับรู้ภาวะสุขภาพของตนเองมีภาวะสุขภาพดีขึ้น
0
0
3. คัดกรองโรคเบาหวาน และความดันโลหิตสูงในประชากรกลุ่มเป้าหมายในชุมชน
วันที่ 12 พฤษภาคม 2567 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
- ประชุมชี้แจงกับคณะทำงาน และอสม.
- สำรวจกลุ่มเป้าหมายในประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไป / กลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน
- จัดหาอุปกรณ์ เครื่องวัดความดันโลหิตสูง เครื่องตรวจระดับน้ำตาลในเลือด
- อบรมให้ความรู้ อสม.ในการตรวจคัดกรองโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงโดยการสอนเจาะน้ำตาลปลายนิ้ว การวัดความดันโลหิตสูง การวัดรอบเอว และการประเมินผลการตรวจ โดยเจ้าหน้าที่ รพ.สต.
-รณรงค์การคัดกรองโรคความดันโลหิตสูง และโรคเบาหวาน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- ประชุมชี้แจงกับคณะทำงาน และอสม. 1 ครั้ง
- ประชาชนในพื้นที่ที่รับผิดชอบ จำนวน 5 หมู่บ้าน ได้รับการคัดกรองเบื้องต้น เพื่อค้นหาโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง สำหรับคนที่ไม่มีความเสี่ยงในการที่จะเป็นโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงก็จะได้รับความรู็ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อป้องกันไม่ให้เป็นโรค
0
0
4. กิจกรรมสร้างกระเเสในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม รักสุขภาพ
วันที่ 1 กรกฎาคม 2567 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
- สำรวจกลุ่มเป้าหมายในการทำกิจกรรมออกกำลังกายเต้นแอโรบิก
- ประชาสัมพันธ์รณรงค์การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม รักสุขภาพในกลุ่มเสี่ยง/สงสัยเป็นโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน
- จัดกิจกรรมสร้างกระแสการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม รักษ์สุขภาพโดยการออกกำลังกายเต้นแอโรบิค โดยมี นางสาวสมพร ทองสีขาว และนางมณี ไชยปุริวงศ์ เป็นแกนนำในการเต้นออกกำลังกาย
- ตรวจสุขภาพกลุ่มเสี่ยงครั้งที่ 1 เพื่อเข้าร่วมกิจกรรมรักสุขภาพ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- ประชุมคณะการทำงาน และอสม. ในการทำกิจกรรมสร้างกระเเสในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม รักสุขภาพ 1 ครั้ง
- ประชาสัมพันธ์รณรงค์การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม รักสุขภาพในกลุ่มเสี่ยง/สงสัยเป็นโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน 1 ครั้ง
- จัดกิจกรรมออกกำลังกายเต้นแอโรบิค จำนวน 1 ครั้ง มีผู้เข้าร่วม จำนวน 64 คน
- ตรวจคัดกรองสุขภาพกลุ่มเสี่ยงโดยการวัดความดันโลหิต และเจาะน้ำตาลปลายนิ้ว จำนวน 64 คน
- กลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เหมาะสม
0
0
5. ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมตามหลัก3 อ. 2 ส.ในกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มสงสัยเป็นโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
วันที่ 8 กรกฎาคม 2567 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
- ประชุมวางแผนการจัดทำกิจกรรม ร่วมกับ ประชาชน แกนนำ และอสม.
- อบรมให้ความรู้เรื่องโรคความดันโลหิตสูง และโรคเบาหวาน อาหารและการออกกำลังกายในกลุ่มเสี่ยง/สงสัยเป็นโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง โดยมีนายพัชรมณฑน์ พัชรยุทธิ เป็นวิทยากรในการให้ความรู้ในกิจกรรม
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- ประชุมวางแผนการจัดทำกิจกรรม ร่วมกับ ประชาชน แกนนำ และอสม. 1 ครั้ง
- อบรมให้ความรู้เรื่องโรคความดันโลหิตสูง และโรคเบาหวาน อาหารและการออกกำลังกายในกลุ่มเสี่ยง/สงสัยเป็นโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง จำนวน 58 คน
- กลุ่มเป้าหมาย เกิดทักษะ มีความรู้ในเรื่องโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง การดูแลสุขภาพการรับประทานอาหารและยา การออกกำลังกาย การตรวจสุขภาพ ตรวจประเมินเท้า ทั้งสามารถดูแลตนเองได้อย่างถูกต้อง ร้อยละ 90
- ผู้เข้าร่วมการอบรมมีความพึงพอใจจากการเข้าร่วมการอบรมในครั้งนี้ ได้คะเเนนพึงพอใจระดับมากเป็นคะเเนน 4 คะเเนน จากคะเเนนเต็ม 5
0
0
6. อบรมให้ความรู้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมผู้ป่วยเบาหวานและตรวจประเมินภาวะแทรกซ้อน
วันที่ 10 กรกฎาคม 2567 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
- สำรวจกลุ่มเป้าหมาย ที่เป็นกลุ่มผู้ป่วยเบาหวาน ร่วมกับอสม.
- อบรมให้ความรู้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมผู้ป่วยเบาหวาน โดยมี นายพัชรมณฑ์ พัชรยุทธิ และ นางสาวสมฤดี ไชยรักษ์ เป็นวิทยากรในการให้ความรู้ในกิจกรรม
- ตรวจประเมินสุขภาพช่องปากและเท้าพร้อมให้ฝึกปฏิบัติตาม
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- สำรวจกลุ่มเป้าหมาย ที่เป็นกลุ่มผู้ป่วยเบาหวาน ร่วมกับอสม. 1 ครั้ง ก่อนจัดการอบรม
- อบรมให้ความรู้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมผู้ป่วยเบาหวาน จำนวน 75 คน
- ผู้ป่วยเบาหวานในเขตรับผิดชอบ ของรพ.สต.บ้านฝาละมี จำนวน 75 คน ได้รับการตรวจประเมินเท้า ทุกคน คิดเป้นร้อยละร้อย และ มีความรู้ในการเข้าร่วมกิจกรรมเพิ่มขึ้น ร้อยละ ๘๕
0
0
7. สื่อสารความเสี่ยง ป้องกันโรคหลอดเลือดสมอง
วันที่ 24 กรกฎาคม 2567 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
- ประชุมชี้แจงรายละเอียดกิจกรรม ร่วมกับอาสาสมัคร
- ประชาสัมพันธ์สื่อสารความเสี่ยงโรคหลอดเลือดสมองสัญญาณเตือนโรคหลอดเลือดสมอง
- ประเมิน CVD risk ผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง ในกิจกรรมอบรมให้ความรู้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมผู้ป่วยเบาหวานและตรวจประเมินภาวะเเทรกซ้อน
- จัดหาอุปกรณ์ ป้ายประชาสัมพันธ์แบบถือพลาสวู๊ด ป้ายไวนิลโรคลอัพ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- ประชุมชี้แจงรายละเอียดกิจกรรม ร่วมกับอาสาสมัคร 1ครั้ง
- ประชาสัมพันธ์สื่อสารความเสี่ยงโรคหลอดเลือดสมองสัญญาณเตือนโรคหลอดเลือดสมอง 1 ครั้ง
- ประเมิน CVD risk ผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง ในกิจกรรมอบรมให้ความรู้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมผู้ป่วยเบาหวานและตรวจประเมินภาวะเเทรกซ้อน จำนวน 75 คน
- กลุ่มเป้าหมายในชุมชนมีความรู้ ความเข้าใจ ในการประเมิน CVD risk คิดเป็นร้อยละ 85
- จัดหาอุปกรณ์ ป้ายประชาสัมพันธ์แบบถือพลาสวู๊ด จำนวน 5 ป้าย - ป้ายไวนิลโรคลอัพ จำนวน 1 ชุด
0
0
8. ติดตามสุขภาพกลุ่มเสี่ยง/สงสัยเป็นโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานกิจกรรมรักษ์สุขภาพครั้งที่ 2
วันที่ 13 สิงหาคม 2567 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
- สำรวจข้อมูลสุขภาพ จัดทำทะเบียนและฐานข้อมูลสุขภาพของกลุ่มเสี่ยง/ สงสัยเป็นโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน
-จัดกิจกรรมติดตามสุขภาพกลุ่มเสี่ยง /สงสัยเป็นโรคความดันโลหิตสูง และโรคเบาหวาน โดยการวัดความดันโลหิต และการตรวจวัดระดับน้ำตาลในเลือด
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- สำรวจข้อมูลสุขภาพ จัดทำทะเบียนและฐานข้อมูลสุขภาพของกลุ่มเสี่ยง/ สงสัยเป็นโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน
-จัดกิจกรรมติดตามสุขภาพกลุ่มเสี่ยง /สงสัยเป็นโรคความดันโลหิตสูง และโรคเบาหวาน โดยการวัดความดันโลหิต และการตรวจวัดระดับน้ำตาลในเลือด จำนวน 51 คน
0
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อแก้ปัญหาประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน
ตัวชี้วัด : ร้อยละของประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวานลดลง
36.50
30.00
28.58
2
เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง
ตัวชี้วัด : ร้อยละประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูงลดลง
36.50
30.00
28.50
3
เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคหลอดเลือดสมอง(CVA)
ตัวชี้วัด : ร้อยละประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคหลอดเลือดสมอง(CVA) ลดลง
15.00
10.00
6.50
4
เพื่อแก้ปัญหาผู้ป่วยเบาหวานที่เกิดภาวะแทรกซ้อน เช่น เบาหวานขึ้นจอประสาทตา แผล ไตวาย
ตัวชี้วัด : ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวานที่เกิดภาวะแทรกซ้อน เช่น เบาหวานขึ้นจอประสาทตา แผล ไตวาย ลดลง
4.00
2.50
2.50
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
2000
1750
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
350
325
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
1,650
1,325
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อแก้ปัญหาประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน (2) เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง (3) เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคหลอดเลือดสมอง(CVA) (4) เพื่อแก้ปัญหาผู้ป่วยเบาหวานที่เกิดภาวะแทรกซ้อน เช่น เบาหวานขึ้นจอประสาทตา แผล ไตวาย
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) คัดกรองโรคเบาหวาน และความดันโลหิตสูงในประชากรกลุ่มเป้าหมายในชุมชน (2) กิจกรรมสร้างกระแสในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม รักสุขภาพ (3) ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมตามหลัก3 อ. 2 ส.ในกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มสงสัยเป็นโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง (4) ติดตามวัดความดันโลหิตที่บ้าน กลุ่มเสี่ยง/สงสัยป่วยโรคความดันโลหิตสูง (5) ติดตามเจาะ FBS กลุ่มเสี่ยงเบาหวาน (6) อบรมให้ความรู้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมผู้ป่วยเบาหวานและตรวจประเมินภาวะแทรกซ้อน (7) ติดตามสุขภาพกลุ่มเสี่ยง/สงสัยเป็นโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานกิจกรรมรักษ์สุขภาพครั้งที่ 2 (8) สื่อสารความเสี่ยง ป้องกันโรคหลอดเลือดสมอง
ข้อเสนอแนะ ได้แก่
แต่อย่างไรก็ตามผลการคัดกรองโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงในประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไปใน
เขตพื้นที่รับผิดชอบ รพ.สต.บ้านฝาละมี ในระยะแรกยังไม่ผ่านเกณฑ์ตัวชี้วัดซึ่งกำหนดที่ร้อยละ 90.9
แม้ได้ปรับฐานข้อมูลกลุ่มเป้าหมายในพื้นที่ให้ถูกต้องร่วมกับการพัฒนาระบบคัดกรองโดยอาศัยการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่าย
ชุมชนแล้ว อาจเกิดจากอุปสรรคที่สำคัญในขั้นตอนการลงมือปฏิบัติ (ACT) คือ การเข้าถึงกลุ่มเป้าหมายใน
ชุมชน มีข้อจำกัดต่าง ๆ ได้แก่ ประชากรที่ย้ายถิ่นฐานมาจากพื้นที่ที่หลากหลาย ประชาชนไม่เห็น
ความสำคัญของการคัดกรองโรคเนื่องจากไม่มีอาการผิดปกติ อีกทั้งมีทัศนคติความเชื่อส่วนบุคคลและ
ปฏิสัมพันธ์ทางสังคมที่แตกต่างกัน
ข้อมูลที่นำเสนอนี้สรุปได้ว่า รพ.สต.บ้านฝาละมี ได้พัฒนาระบบการคัดกรองโรคเบาหวานและโรค
ความดันโลหิตสูงให้แก่ประชาชนในเขตพื้นที่รับผิดชอบ ทำให้ประชาชน ได้รับการคัด
กรองโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงเพิ่มขึ้น โดยมีปัจจัยความสำเร็จ คือ การให้บริการที่สอดคล้องกับ
บริบทชุมชน และตอบสนองความต้องการของประชาชนด้วยการให้บริการเชิงรุกอาศัยการมีส่วนร่วมของ
ภาคเครือข่ายชุมชนโดยให้ชุมชนเป็นฐานในการเฝ้าระวังคัดกรองโรคในกลุ่มเสี่ยง ส่งผลให้ประชาชนสามารถ
เข้าถึงบริการได้มากยิ่งขึ้น ก่อให้เกิดการดูแลสุขภาพตนเองในระดับชุมชน แต่อย่างไรก็ตามอุปสรรคของการ
พัฒนาในครั้งนี้ คือ ขาดการมีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพของประชาชนกลุ่มเป้าหมาย ดังนั้นควรบูรณาการ
หลักการมีส่วนร่วมของประชาชนในชุมชนให้มากขึ้นกว่าเดิม โดยเปิดโอกาสให้ประชาชนและชุมชนแสดงความ
คิดเห็นและวางแผนรับผิดชอบร่วมกับ รพ.สต.บ้านฝาละมี เพราะกระบวนการมีส่วนร่วมนี้จะก่อให้เกิดองค์
ความรู้ที่เหมาะกับบริบทของชุมชนเอง กระตุ้นการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ของคนในชุมชน และคลินิกโรคเรื้อรัง รพ.สต.บ้านฝาละมี รพ.ปากพะยูน
ประชาชนมีจิตสำนึกที่ดีต่อการดูแลสุขภาพตนเองจนในที่สุดเกิดการพัฒนาอย่างต่อเนื่องและยั่งยืน
ต่อไป
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
ผลการคัดกรองโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงในประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไปใน เขตพื้นที่รับผิดชอบ รพ.สต.บ้านฝาละมี ในระยะแรกยังไม่ผ่านเกณฑ์ตัวชี้วัดซึ่งกำหนดที่ร้อยละ 90.9
ประชาชนไม่เห็น ความสำคัญของการคัดกรองโรคเนื่องจากไม่มีอาการผิดปกติ
ฐานข้อมูลยังไม่ถูกต้อง
อีกทั้งมีทัศนคติความเชื่อส่วนบุคคลและ ปฏิสัมพันธ์ทางสังคมที่แตกต่างกัน
ปรับฐานข้อมูลกลุ่มเป้าหมายในพื้นที่ให้ถูกต้องร่วมกับการพัฒนาระบบคัดกรองโดยอาศัยการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่าย ชุมชนแล้ว อาจเกิดจากอุปสรรคที่สำคัญในขั้นตอนการลงมือปฏิบัติ (ACT) คือ การเข้าถึงกลุ่มเป้าหมายใน ชุมชน มีข้อจำกัดต่าง ๆ ได้แก่ ประชากรที่ย้ายถิ่นฐานมาจากพื้นที่ที่หลากหลาย พัฒนาระบบการคัดกรองโรคเบาหวานและโรค ความดันโลหิตสูงให้แก่ประชาชนในเขตพื้นที่รับผิดชอบ ทำให้ประชาชน ได้รับการคัด กรองโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงเพิ่มขึ้น โดยมีปัจจัยความสำเร็จ คือ การให้บริการที่สอดคล้องกับ บริบทชุมชน และตอบสนองความต้องการของประชาชนด้วยการให้บริการเชิงรุกอาศัยการมีส่วนร่วมของ ภาคเครือข่ายชุมชนโดยให้ชุมชนเป็นฐานในการเฝ้าระวังคัดกรองโรคในกลุ่มเสี่ยง ส่งผลให้ประชาชนสามารถ เข้าถึงบริการได้มากยิ่งขึ้น ก่อให้เกิดการดูแลสุขภาพตนเองในระดับชุมชน แต่อย่างไรก็ตามอุปสรรคของการ พัฒนาในครั้งนี้ คือ ขาดการมีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพของประชาชนกลุ่มเป้าหมาย ดังนั้นควรบูรณาการ หลักการมีส่วนร่วมของประชาชนในชุมชนให้มากขึ้นกว่าเดิม โดยเปิดโอกาสให้ประชาชนและชุมชนแสดงความ คิดเห็นและวางแผนรับผิดชอบร่วมกับ รพ.สต.บ้านฝาละมี เพราะกระบวนการมีส่วนร่วมนี้จะก่อให้เกิดองค์ ความรู้ที่เหมาะกับบริบทของชุมชนเอง กระตุ้นการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ของคนในชุมชน และคลินิกโรคเรื้อรัง รพ.สต.บ้านฝาละมี รพ.ปากพะยูน
ประชาชนมีจิตสำนึกที่ดีต่อการดูแลสุขภาพตนเองจนในที่สุดเกิดการพัฒนาอย่างต่อเนื่องและยั่งยืน ต่อไป
โครงการพัฒนาระบบบูรณาการป้องกันและควบคุมโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน รพ.สต.บ้านฝาละมี ปีงบประมาณ 2567 จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 67-L3339-01-01
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางสุคนธ์ หนูเอียด )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการพัฒนาระบบบูรณาการป้องกันและควบคุมโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน รพ.สต.บ้านฝาละมี ปีงบประมาณ 2567 ”
หมู่ที่ 2 หมู่ที่ 3 และหมู่ที่ 11 ตำบลหารเทา อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง
หัวหน้าโครงการ
นางสุคนธ์ หนูเอียด
สิงหาคม 2567
ที่อยู่ หมู่ที่ 2 หมู่ที่ 3 และหมู่ที่ 11 ตำบลหารเทา อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 67-L3339-01-01 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ธันวาคม 2566 ถึง 31 สิงหาคม 2567
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการพัฒนาระบบบูรณาการป้องกันและควบคุมโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน รพ.สต.บ้านฝาละมี ปีงบประมาณ 2567 จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน หมู่ที่ 2 หมู่ที่ 3 และหมู่ที่ 11 ตำบลหารเทา อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลหารเทา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการพัฒนาระบบบูรณาการป้องกันและควบคุมโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน รพ.สต.บ้านฝาละมี ปีงบประมาณ 2567
บทคัดย่อ
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อแก้ปัญหาประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน (2) เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง (3) เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคหลอดเลือดสมอง(CVA) (4) เพื่อแก้ปัญหาผู้ป่วยเบาหวานที่เกิดภาวะแทรกซ้อน เช่น เบาหวานขึ้นจอประสาทตา แผล ไตวาย
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) คัดกรองโรคเบาหวาน และความดันโลหิตสูงในประชากรกลุ่มเป้าหมายในชุมชน (2) กิจกรรมสร้างกระแสในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม รักสุขภาพ (3) ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมตามหลัก3 อ. 2 ส.ในกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มสงสัยเป็นโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง (4) ติดตามวัดความดันโลหิตที่บ้าน กลุ่มเสี่ยง/สงสัยป่วยโรคความดันโลหิตสูง (5) ติดตามเจาะ FBS กลุ่มเสี่ยงเบาหวาน (6) อบรมให้ความรู้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมผู้ป่วยเบาหวานและตรวจประเมินภาวะแทรกซ้อน (7) ติดตามสุขภาพกลุ่มเสี่ยง/สงสัยเป็นโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานกิจกรรมรักษ์สุขภาพครั้งที่ 2 (8) สื่อสารความเสี่ยง ป้องกันโรคหลอดเลือดสมอง
ข้อเสนอแนะ ได้แก่
แต่อย่างไรก็ตามผลการคัดกรองโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงในประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไปใน
เขตพื้นที่รับผิดชอบ รพ.สต.บ้านฝาละมี ในระยะแรกยังไม่ผ่านเกณฑ์ตัวชี้วัดซึ่งกำหนดที่ร้อยละ 90.9
แม้ได้ปรับฐานข้อมูลกลุ่มเป้าหมายในพื้นที่ให้ถูกต้องร่วมกับการพัฒนาระบบคัดกรองโดยอาศัยการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่าย
ชุมชนแล้ว อาจเกิดจากอุปสรรคที่สำคัญในขั้นตอนการลงมือปฏิบัติ (ACT) คือ การเข้าถึงกลุ่มเป้าหมายใน
ชุมชน มีข้อจำกัดต่าง ๆ ได้แก่ ประชากรที่ย้ายถิ่นฐานมาจากพื้นที่ที่หลากหลาย ประชาชนไม่เห็น
ความสำคัญของการคัดกรองโรคเนื่องจากไม่มีอาการผิดปกติ อีกทั้งมีทัศนคติความเชื่อส่วนบุคคลและ
ปฏิสัมพันธ์ทางสังคมที่แตกต่างกัน
ข้อมูลที่นำเสนอนี้สรุปได้ว่า รพ.สต.บ้านฝาละมี ได้พัฒนาระบบการคัดกรองโรคเบาหวานและโรค
ความดันโลหิตสูงให้แก่ประชาชนในเขตพื้นที่รับผิดชอบ ทำให้ประชาชน ได้รับการคัด
กรองโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงเพิ่มขึ้น โดยมีปัจจัยความสำเร็จ คือ การให้บริการที่สอดคล้องกับ
บริบทชุมชน และตอบสนองความต้องการของประชาชนด้วยการให้บริการเชิงรุกอาศัยการมีส่วนร่วมของ
ภาคเครือข่ายชุมชนโดยให้ชุมชนเป็นฐานในการเฝ้าระวังคัดกรองโรคในกลุ่มเสี่ยง ส่งผลให้ประชาชนสามารถ
เข้าถึงบริการได้มากยิ่งขึ้น ก่อให้เกิดการดูแลสุขภาพตนเองในระดับชุมชน แต่อย่างไรก็ตามอุปสรรคของการ
พัฒนาในครั้งนี้ คือ ขาดการมีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพของประชาชนกลุ่มเป้าหมาย ดังนั้นควรบูรณาการ
หลักการมีส่วนร่วมของประชาชนในชุมชนให้มากขึ้นกว่าเดิม โดยเปิดโอกาสให้ประชาชนและชุมชนแสดงความ
คิดเห็นและวางแผนรับผิดชอบร่วมกับ รพ.สต.บ้านฝาละมี เพราะกระบวนการมีส่วนร่วมนี้จะก่อให้เกิดองค์
ความรู้ที่เหมาะกับบริบทของชุมชนเอง กระตุ้นการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ของคนในชุมชน และคลินิกโรคเรื้อรัง รพ.สต.บ้านฝาละมี รพ.ปากพะยูน
ประชาชนมีจิตสำนึกที่ดีต่อการดูแลสุขภาพตนเองจนในที่สุดเกิดการพัฒนาอย่างต่อเนื่องและยั่งยืน
ต่อไป
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง(NCDs) เป็นกัญหาสาธารณสุขที่สำคัญทั่วโลกรวมทั้งประเทศไทยด้วยพบว่าอัตราชุกของโรคเหล่านี้มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นเรื่อยๆโดยเฉพาะโรคดบาหวานโรคความดันโลหิตสูงและโรคหลอดเลือดสมององค์การอนามัยโลก (WHO)รายงานว่า ในปี 2552 ผู้ป่วยโรคเบาหวานมีจำนวน 108 ล้านคน เพิ่มขึ้นเป็น 422 ล้านคน ในปี 2557 มีผู้เสียชีวิตจากโรคเบาหวาน 1.5 ล้านคน นอกจากนี้ ยังพบว่าประชากรทั่วโลกที่มีอายุ 18 ปีขึ้นไป ป่วยด้วยโรคเบาหวานเพิ่มขึ้นจากร้อยละ 4.7 เป็นร้อยละ 8.5 หรือเมื่อเปรียบเทียบแล้ว พบว่า ปัจจุบันประชากรวัยผู้ใหญ่ 1 ใน 11 คนป่วยเป็นโรคเบาหวาน จากการกำเนินงานเพื่อตอบสนอง Service Plan สาขาโรคไม่ติดต่อเรื้อรังในปีงบประมาณ 2566 พบว่า จังหวัดพัทลุง มีอัตราตายของผู้ป่วยเบาหวานร้อยละ 3.95 อำเภอปกพะยูน มีอัตราตาย ร้อยละ 4.39 และ มีแนวโน้มผู้ป่วยโรคเบาหวานสูงขึ้นทุกๆปี จากสถิติตั้งแต่ 2561 – 2566ความชุกของผู้ป่วยเบาหวานมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นดังนี้ 4.615, 5.158, 5.483, 5.481 ต่อแสนประชากร ตามลำดับเนื่องมาจากปัจจัยเสี่ยงที่คุกคามภาวะสุขภาพเช่นพฤติกรรมการดำรงชีวิตที่อาจทำให้เกิดความเครียด ภาวะโภชนาการเกินการขาดการออกกำลังกายจากสถิติการเกิดโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงของ รพ.สต.บ้านฝาละมีพบว่า ประชากรอายุ 35 ปีขึ้นไป ที่ยังไม่เป็นเบาหวานจำนวน 1,615 คนได้รับการคัดกรองเจาะน้ำตาลปลายนิ้วจำนวน 1,521 คนคิดเป็นร้อยละ 94.18เป็นกลุ่มเสี่ยงจำนวน 537 คนพบผู้ป่วยรายใหม่จำนวน 5 คน คิดเป็นร้อยละ 0.94ในส่วนของผู้ป่วยเบาหวานสามารถควบคุมระดับน้ำตาลได้ดีจำนวน 87 คนคิดเป็นร้อยละ 49.15สำหรับการคัดกรองโรคความดันโลหิตสูง พบว่า ประชากรอายุ 35 ปีขึ้นไปที่ยังไม่เป็นโรคความดันโลหิตสูงจำนวน 1,396 คนได้รับการคัดกรอง จำนวน 1,305 คนคิดเป็นร้อยละ 93.48เป็นกลุ่มเสี่ยงจำนวน 537 คนพบผู้ป่วยรายใหม่จำนวน 6 คนคิดเป็นร้อยละ 7.32ในส่วนของผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงสามารถควบคุมระดับความดันโลหิตได้ดีจำนวน 322 คน คิดเป็นร้อยละ 79.51 เพื่อให้การดำเนินงานการป้องกันและควบคุมจัดการงานโรคไม่ติดต่อเรื่อรัง NCDsเป็นไปอย่างต่อเนื่อง เราต้องอาศัยการทำงานร่วมกันของภาคีเครือข่ายสุขภาพรวมทั้งประชาชนเพื่อพัฒนาระบบบูรณาการการป้องกันและควบคุมจัดการโรคเบาหวาน/โรคความดันโลหิตสูงเพื่อลดอุบัติการณ์การเกิดผู้ป่วยรายใหม่ลดภาวะแทรกซ้อนจากโรครวมทั้งการลดอัตราตายจากภาวะแทรกซ้อนของโรคอีกด้วย ทางโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านฝาละมีจึงจัดทำโครงการพัฒนาระบบบูรณาการป้องกันและควบคุมโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน รพ.สต.บ้านฝาละมี ปีงบประมาณ 2567 ขึ้นเพื่อกระตุ้นให้ประชาชนทั่วไปและผู้ป่วยมีความตระหนักและสร้างความรอบรู้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพตามหลัก 3 อ 2สเพื่อให้ประชาชนสามารถป้องกันและควบคุมโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตได้
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อแก้ปัญหาประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน
- เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง
- เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคหลอดเลือดสมอง(CVA)
- เพื่อแก้ปัญหาผู้ป่วยเบาหวานที่เกิดภาวะแทรกซ้อน เช่น เบาหวานขึ้นจอประสาทตา แผล ไตวาย
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- คัดกรองโรคเบาหวาน และความดันโลหิตสูงในประชากรกลุ่มเป้าหมายในชุมชน
- กิจกรรมสร้างกระแสในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม รักสุขภาพ
- ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมตามหลัก3 อ. 2 ส.ในกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มสงสัยเป็นโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
- ติดตามวัดความดันโลหิตที่บ้าน กลุ่มเสี่ยง/สงสัยป่วยโรคความดันโลหิตสูง
- ติดตามเจาะ FBS กลุ่มเสี่ยงเบาหวาน
- อบรมให้ความรู้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมผู้ป่วยเบาหวานและตรวจประเมินภาวะแทรกซ้อน
- ติดตามสุขภาพกลุ่มเสี่ยง/สงสัยเป็นโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานกิจกรรมรักษ์สุขภาพครั้งที่ 2
- สื่อสารความเสี่ยง ป้องกันโรคหลอดเลือดสมอง
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | 350 | |
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 1,650 | |
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.ร้อยละของประชากรอายุ 35 ปีขึ้นไป ในเขตรับผิดชอบได้รับการคัดกรองโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงเพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่า ร้อยละ 95 2.ร้อยละประชากรกลุ่มเป้าหมายมีความเสี่ยงโรคเบาหวานลดลง 3.ร้อยละของผู้ป่วยโรคเบาหวานสามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้ดี ไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 4.ร้อยละของผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงสามารถควบคุมระดับความดันโลหิตได้ดีไม่น้อยกว่าร้อยละ 75
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. ติดตามวัดความดันโลหิตที่บ้าน กลุ่มเสี่ยง/สงสัยป่วยโรคความดันโลหิตสูง |
||
วันที่ 1 ธันวาคม 2566 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น-กลุ่มเสี่ยงและสงสัยเป็นโรคความดันโลหิตสูงจากการคัดกรองได้รับการติดตามวัดความดันที่บ้านมากกว่าร้อยละ80 -กลุ่มเสี่ยงและสงสัยเป็นโรคความดันโลหิตสูงมีภาวะสุขภาพดีขึ้น
|
0 | 0 |
2. ติดตามเจาะ FBS กลุ่มเสี่ยงเบาหวาน |
||
วันที่ 1 มกราคม 2567 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
0 | 0 |
3. คัดกรองโรคเบาหวาน และความดันโลหิตสูงในประชากรกลุ่มเป้าหมายในชุมชน |
||
วันที่ 12 พฤษภาคม 2567 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
0 | 0 |
4. กิจกรรมสร้างกระเเสในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม รักสุขภาพ |
||
วันที่ 1 กรกฎาคม 2567 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
0 | 0 |
5. ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมตามหลัก3 อ. 2 ส.ในกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มสงสัยเป็นโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง |
||
วันที่ 8 กรกฎาคม 2567 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
0 | 0 |
6. อบรมให้ความรู้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมผู้ป่วยเบาหวานและตรวจประเมินภาวะแทรกซ้อน |
||
วันที่ 10 กรกฎาคม 2567 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
0 | 0 |
7. สื่อสารความเสี่ยง ป้องกันโรคหลอดเลือดสมอง |
||
วันที่ 24 กรกฎาคม 2567 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
0 | 0 |
8. ติดตามสุขภาพกลุ่มเสี่ยง/สงสัยเป็นโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานกิจกรรมรักษ์สุขภาพครั้งที่ 2 |
||
วันที่ 13 สิงหาคม 2567 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
0 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อแก้ปัญหาประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน ตัวชี้วัด : ร้อยละของประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวานลดลง |
36.50 | 30.00 | 28.58 |
|
2 | เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง ตัวชี้วัด : ร้อยละประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูงลดลง |
36.50 | 30.00 | 28.50 |
|
3 | เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคหลอดเลือดสมอง(CVA) ตัวชี้วัด : ร้อยละประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคหลอดเลือดสมอง(CVA) ลดลง |
15.00 | 10.00 | 6.50 |
|
4 | เพื่อแก้ปัญหาผู้ป่วยเบาหวานที่เกิดภาวะแทรกซ้อน เช่น เบาหวานขึ้นจอประสาทตา แผล ไตวาย ตัวชี้วัด : ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวานที่เกิดภาวะแทรกซ้อน เช่น เบาหวานขึ้นจอประสาทตา แผล ไตวาย ลดลง |
4.00 | 2.50 | 2.50 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 2000 | 1750 | |
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | 350 | 325 | |
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 1,650 | 1,325 | |
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อแก้ปัญหาประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน (2) เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง (3) เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคหลอดเลือดสมอง(CVA) (4) เพื่อแก้ปัญหาผู้ป่วยเบาหวานที่เกิดภาวะแทรกซ้อน เช่น เบาหวานขึ้นจอประสาทตา แผล ไตวาย
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) คัดกรองโรคเบาหวาน และความดันโลหิตสูงในประชากรกลุ่มเป้าหมายในชุมชน (2) กิจกรรมสร้างกระแสในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม รักสุขภาพ (3) ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมตามหลัก3 อ. 2 ส.ในกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มสงสัยเป็นโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง (4) ติดตามวัดความดันโลหิตที่บ้าน กลุ่มเสี่ยง/สงสัยป่วยโรคความดันโลหิตสูง (5) ติดตามเจาะ FBS กลุ่มเสี่ยงเบาหวาน (6) อบรมให้ความรู้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมผู้ป่วยเบาหวานและตรวจประเมินภาวะแทรกซ้อน (7) ติดตามสุขภาพกลุ่มเสี่ยง/สงสัยเป็นโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานกิจกรรมรักษ์สุขภาพครั้งที่ 2 (8) สื่อสารความเสี่ยง ป้องกันโรคหลอดเลือดสมอง
ข้อเสนอแนะ ได้แก่
แต่อย่างไรก็ตามผลการคัดกรองโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงในประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไปใน
เขตพื้นที่รับผิดชอบ รพ.สต.บ้านฝาละมี ในระยะแรกยังไม่ผ่านเกณฑ์ตัวชี้วัดซึ่งกำหนดที่ร้อยละ 90.9
แม้ได้ปรับฐานข้อมูลกลุ่มเป้าหมายในพื้นที่ให้ถูกต้องร่วมกับการพัฒนาระบบคัดกรองโดยอาศัยการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่าย
ชุมชนแล้ว อาจเกิดจากอุปสรรคที่สำคัญในขั้นตอนการลงมือปฏิบัติ (ACT) คือ การเข้าถึงกลุ่มเป้าหมายใน
ชุมชน มีข้อจำกัดต่าง ๆ ได้แก่ ประชากรที่ย้ายถิ่นฐานมาจากพื้นที่ที่หลากหลาย ประชาชนไม่เห็น
ความสำคัญของการคัดกรองโรคเนื่องจากไม่มีอาการผิดปกติ อีกทั้งมีทัศนคติความเชื่อส่วนบุคคลและ
ปฏิสัมพันธ์ทางสังคมที่แตกต่างกัน
ข้อมูลที่นำเสนอนี้สรุปได้ว่า รพ.สต.บ้านฝาละมี ได้พัฒนาระบบการคัดกรองโรคเบาหวานและโรค
ความดันโลหิตสูงให้แก่ประชาชนในเขตพื้นที่รับผิดชอบ ทำให้ประชาชน ได้รับการคัด
กรองโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงเพิ่มขึ้น โดยมีปัจจัยความสำเร็จ คือ การให้บริการที่สอดคล้องกับ
บริบทชุมชน และตอบสนองความต้องการของประชาชนด้วยการให้บริการเชิงรุกอาศัยการมีส่วนร่วมของ
ภาคเครือข่ายชุมชนโดยให้ชุมชนเป็นฐานในการเฝ้าระวังคัดกรองโรคในกลุ่มเสี่ยง ส่งผลให้ประชาชนสามารถ
เข้าถึงบริการได้มากยิ่งขึ้น ก่อให้เกิดการดูแลสุขภาพตนเองในระดับชุมชน แต่อย่างไรก็ตามอุปสรรคของการ
พัฒนาในครั้งนี้ คือ ขาดการมีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพของประชาชนกลุ่มเป้าหมาย ดังนั้นควรบูรณาการ
หลักการมีส่วนร่วมของประชาชนในชุมชนให้มากขึ้นกว่าเดิม โดยเปิดโอกาสให้ประชาชนและชุมชนแสดงความ
คิดเห็นและวางแผนรับผิดชอบร่วมกับ รพ.สต.บ้านฝาละมี เพราะกระบวนการมีส่วนร่วมนี้จะก่อให้เกิดองค์
ความรู้ที่เหมาะกับบริบทของชุมชนเอง กระตุ้นการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ของคนในชุมชน และคลินิกโรคเรื้อรัง รพ.สต.บ้านฝาละมี รพ.ปากพะยูน
ประชาชนมีจิตสำนึกที่ดีต่อการดูแลสุขภาพตนเองจนในที่สุดเกิดการพัฒนาอย่างต่อเนื่องและยั่งยืน
ต่อไป
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
ผลการคัดกรองโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงในประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไปใน เขตพื้นที่รับผิดชอบ รพ.สต.บ้านฝาละมี ในระยะแรกยังไม่ผ่านเกณฑ์ตัวชี้วัดซึ่งกำหนดที่ร้อยละ 90.9 ประชาชนไม่เห็น ความสำคัญของการคัดกรองโรคเนื่องจากไม่มีอาการผิดปกติ |
ฐานข้อมูลยังไม่ถูกต้อง อีกทั้งมีทัศนคติความเชื่อส่วนบุคคลและ ปฏิสัมพันธ์ทางสังคมที่แตกต่างกัน |
ปรับฐานข้อมูลกลุ่มเป้าหมายในพื้นที่ให้ถูกต้องร่วมกับการพัฒนาระบบคัดกรองโดยอาศัยการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่าย ชุมชนแล้ว อาจเกิดจากอุปสรรคที่สำคัญในขั้นตอนการลงมือปฏิบัติ (ACT) คือ การเข้าถึงกลุ่มเป้าหมายใน ชุมชน มีข้อจำกัดต่าง ๆ ได้แก่ ประชากรที่ย้ายถิ่นฐานมาจากพื้นที่ที่หลากหลาย พัฒนาระบบการคัดกรองโรคเบาหวานและโรค ความดันโลหิตสูงให้แก่ประชาชนในเขตพื้นที่รับผิดชอบ ทำให้ประชาชน ได้รับการคัด กรองโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงเพิ่มขึ้น โดยมีปัจจัยความสำเร็จ คือ การให้บริการที่สอดคล้องกับ บริบทชุมชน และตอบสนองความต้องการของประชาชนด้วยการให้บริการเชิงรุกอาศัยการมีส่วนร่วมของ ภาคเครือข่ายชุมชนโดยให้ชุมชนเป็นฐานในการเฝ้าระวังคัดกรองโรคในกลุ่มเสี่ยง ส่งผลให้ประชาชนสามารถ เข้าถึงบริการได้มากยิ่งขึ้น ก่อให้เกิดการดูแลสุขภาพตนเองในระดับชุมชน แต่อย่างไรก็ตามอุปสรรคของการ พัฒนาในครั้งนี้ คือ ขาดการมีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพของประชาชนกลุ่มเป้าหมาย ดังนั้นควรบูรณาการ หลักการมีส่วนร่วมของประชาชนในชุมชนให้มากขึ้นกว่าเดิม โดยเปิดโอกาสให้ประชาชนและชุมชนแสดงความ คิดเห็นและวางแผนรับผิดชอบร่วมกับ รพ.สต.บ้านฝาละมี เพราะกระบวนการมีส่วนร่วมนี้จะก่อให้เกิดองค์ ความรู้ที่เหมาะกับบริบทของชุมชนเอง กระตุ้นการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ของคนในชุมชน และคลินิกโรคเรื้อรัง รพ.สต.บ้านฝาละมี รพ.ปากพะยูน ประชาชนมีจิตสำนึกที่ดีต่อการดูแลสุขภาพตนเองจนในที่สุดเกิดการพัฒนาอย่างต่อเนื่องและยั่งยืน ต่อไป |
โครงการพัฒนาระบบบูรณาการป้องกันและควบคุมโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน รพ.สต.บ้านฝาละมี ปีงบประมาณ 2567 จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 67-L3339-01-01
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางสุคนธ์ หนูเอียด )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......