กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลชะรัด


“ โครงการส่งเสริมสุขภาพในกลุ่มผู้สูงอายุปี 2567 ”



หัวหน้าโครงการ
นางชะบา อินทร์เอียด

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมสุขภาพในกลุ่มผู้สูงอายุปี 2567

ที่อยู่ จังหวัด

รหัสโครงการ L3308-67-02-03 เลขที่ข้อตกลง 3/2567

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2566 ถึง 30 กันยายน 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมสุขภาพในกลุ่มผู้สูงอายุปี 2567 จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลชะรัด ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมสุขภาพในกลุ่มผู้สูงอายุปี 2567



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมสุขภาพในกลุ่มผู้สูงอายุปี 2567 " ดำเนินการในพื้นที่ รหัสโครงการ L3308-67-02-03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2566 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 21,440.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลชะรัด เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 60 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

 

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อเพิ่มจำนวนผู้สูงอายุ ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ
  2. เพื่อเพิ่มจำนวนผู้สูงอายุ ที่มีการบริโภคอาหารปลอดภัยและเพียงพอ
  3. เพื่อเพิ่มผู้สูงอายุที่มีภาวะซึมเศร้าต้องได้รับการดูแล
  4. เพื่อเพิ่มการเข้าร่วมกลุ่ม/ชมรม ของผู้สูงอายุ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ประชุมคณะกรรมการชมรมฯและที่ปรึกษา ครั้งที่ 1
  2. ให้ความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพกาย สุขภาพจิตและส่งเสริมคุณภาพชีวิตผู้สูงวัย
  3. สาธิตการออกกำลังกาย"ขยับกายผู้สูงอายุด้วยไม้พลอง"
  4. กิจกรรมที่ 4 กิจกรรมออกกำลังกายต่อเนื่อง
  5. กิจกรรที่ 5 ส่งเสริมการคลายเครียดด้วยดนตรีบำบัด
  6. กิจกรรมที่ 6 ติดตามคัดกรองภาวะเครียดและภาวะซึมเศร้าซ้ำ หลังจากอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพและวิธีลดความเครียดโดยการออกกำลังกาย 3 เดือน
  7. ติดตามเยี่ยมเสริมพลัง ครั้งที่ 1
  8. ติดตามเยี่ยมเสริมพลัง ครั้งที่ 2
  9. ประชุมคณะกรรมการชมรมฯและที่ปรึกษา ครั้งที่ 2

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ 60
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ผู้สูงอายุ ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (150 นาทีต่อสัปดาห์) 2.ผู้สูงอายุ ที่มีการบริโภคอาหาร ผัก ผลไม้ปลอดภัย เพื่อสุขภาพอย่างเพียงพอ
3.จำนวน ผู้สูงอายุ60 ปีขึ้นไป มีภาวะซึมเศร้า ลดลง คน
4.ผู้สูงอายุมีกลุ่มหรือสังกัดชมรม เพิ่มขึ้น


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรที่ 1 ประชุมคณะกรรมการชมรมฯและที่ปรึกษา ครั้งที่ 1

วันที่ 29 เมษายน 2567 เวลา 13:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

1.ประธานแจ้งที่ประชุม 2.คณะกรรมการแจ้งเรื่องการดำเนินงานต่างๆในแต่ละกิจกรรม 3.ซักถามรายละเอียดต่าง 4.ปิดการประชุม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.การชี้แจงการดำเนินโครงการให้คณะกรรมการในโครงการรับทราบ 2.ประธานชมรมแจ้งรายละเอียดการดำเนินแต่ละบุคคลให้ทราบ พร้อมให้ทุกคนใรชมรมเข้าใจการดำเนินงานของโครงการ 3.คณะกรรมการโครงการตกลงการดำเนินงานในกิจกรรมต่อไปในวันที่ 14 พค 67 เวลา09.00-16.00น.ณ ห้องประชุมรพ.สต.บ้านชะรัด 4.ประธานแจ้งการออกกฎระเบียบกิจกรรมต่างๆในชมรมรับทราบ 5.ให้คณะกรรมการซักถามการดำเนินที่สงสัยการทำงานในครั้งต่อไป เพื่อแก้ไขการดำเนินงาน 6.ประธานปิดการประชุม

 

20 0

2. กิจกรรมที่ 2 ให้ความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพกาย สุขภาพจิตและส่งเสริมคุณภาพชีวิตผู้สูงวัย

วันที่ 14 พฤษภาคม 2567 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

08.30-09.00 น ลงทะเบียน 09.00-09.30 น. ประธานเปิดโครงการ นายสุวรรณี ยาชะรัด นายกเทศบาลชะรัด 09.30-10.30 น. อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพกายและสุขภาพจิต โดยนางนันธิญา เดชอรัญ พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ 10.30-12.00 น. อบรมการให้ความเกี่ยวกับกินอาหารให้เป็นยาและโภชนาการที่ถูกต้องในกลุ่มผู้สูงอายุ โดย นายกรณ์ รัตนนท์ เจ้าพนักงานสาธารณสุขชำนาญงาน 12.00-13.00 น. รับประทานอาหารกลางวัน 13.00-14.00 น. อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับภาวะเครียดและภาวะซึมเศร้าในกลุ่มผู้สูงอายุ โดยนายวิจิตร์ ดำประสิทธิ์
14.00-15.30 น. ประเมินแบบสอบถามคัดกรองภาวะเครียดและภาวะซึมเศร้า 15.30-16.00 น. ปิดโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.ผู้เข้าร่วมกิจกรรมได้เข้าใจการดูแลสุขภาพกายและสุขภาพจิตเพิ่มมากขึ้น 2.ผู้เข้าร่วมกิจกรรมได้เข้าใจกินอาหารให้เป็นยาและโภชนาการเพิ่มมากขึ้น รวมทั้งได้เรียนรู้การประกอบอาหารที่เมนูสุขภาพกับตนเองในการดำเนินชีวิต 3.ผู้เข้าร่วมกิจกรรมสามารถนำพันธุ์พืชไปปลูกเพื่อใช้ในการประกอบอาหารที่ดีต่อสุขภาพ 4.ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีภาวะเครียดและภาวะซึมเศร้าในกลุ่มผู้สูงอายุ และประเมินแบบสอบถามคัดกรองภาวะเครียดและภาวะซึมเศร้า

 

60 0

3. กิจกรรมที่ 3 สาธิตการออกกำลังกาย"ขยับกายผู้สูงอายุด้วยไม้พลอง"

วันที่ 2 มิถุนายน 2567 เวลา 16:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

1.มีผู้สูงอายุเข้าร่วมการออกกำลังกาย จำนวน 60 คน 2.ผู้สูงอายุมีความรู้เกี่ยวกับการออกกำลังกาย ด้วยไม้พลองที่ถูกต้องและเหมาะสมกับวัย 3.วิทยากรสามารถถ่ายทอดความรู้วิธีการดูแลสุขภาพโดยการออกกำลังกายด้วยไม้พลองที่เหมาะสม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.มีผู้สูงอายุเข้าร่วมกิจกรรมที่ 3 การสาธิตการออกกำลังกาย ในครั้งนี้จำนวน 55 คน คิดเป็นร้อยละ 91.66 พบว่าผู้สูงอายุมีความสนใจและเข้าใจถึงกระบวนการออกกำลังกายด้วยไม้พลองที่ถูกต้อง สามารถนำไปใช้ในการออกกำลังกายด้วยตนเองได้ 2.ผู้สูงอายุได้รับความรู้การออกำลังกายด้วยไม้พลอง จากนายกรณ์ รัตนนท์ เจ้าพนักงานสาธารณสุขชำนาญงาน วิทยากรการสอนออกกำลังกายด้วยไม้พลอง ซึ่งการออกกำลังกายครั้งนี้เป็นการสอนให้ผู้สูงอายุทุกคนมีความเข้าใจที่ถูกต้องถึงหลักการเคลื่อนไหวของร่างกาย และการขยับกายด้วยไม้พลอง เพื่อลดอาการปวดตึงของกล้ามเนื้อและลดภาวะเครียดในร่างกาย ทั้งนี้การสาธิตการออกกำลังไม้พลองจะประกอบไปด้วย ท่าต่างๆในการขยัร่างกาย ได้แก่ ท่าวอมอัพ ท่าขยับปลายเท้า ท่าขยับแขน ท่าขยับข้อเข่า และท่าขยับทุกส่วยของร่างกาย เพื่อให้ผู้สูงอายุปฎิบัติได้ด้วยตนเองแบบเรียบง่าย ซึ่งกิจกรรมการสาธิตจะบอกถึงเวลาที่ใช้การออกกำลังกายที่เหมาะสม เช่น เริ่มจากเบา ประมาณ 15 นาที ต่อด้วยเร็วขึ้นประมาณ 15 นาที และเบาลงเพื่อให้ร่างกายกลับสู่ภาวะปกติ 10 นาที ในการสาธิตครั้งจะใช้ไม้พลองเป็นอุปกรณ์ในการยืดเหยียดกล้ามเนื้อที่ถูกต้องและเหมาะสมต่อการออกกำลังกายในผู้สูงอายุ โดยหลังจากการสาธิตผู้สูงอายุสามารถนำไปปฏิบัติได้ด้วยตนเอง และสามารถสอนให้ผู้อื่นได้อีกด้วย ซึ่งการออกกำลังกายครั้งนี้คิดเป็นร้อยความสำเร็จในการออกกำลังกายด้วยไม้พลอง ร้อยละ 91.66 การจำนวน 55 คน ของผู้เข้าร่วมทั้งหมด 3.ผู้สูงอายุที่ได้รับการสาธิตการออกกำลังกายในครั้งนี้ สามารถเป็นผู้นำการออกกำลังกายได้และนำความรู้ที่ได้มาพัฒนาตนเองในการฝึกฝนตนเองได้อีกต่อไป ซึ่งการผู้สูงอายุที่สามารถนำไปสาธิตให้คนอื่นได้ในครั้งมีมีจำนวน 5 คน ซึ่งคิดเป็นร้อยละ 9.09 จากจำนวนผู้เข้าร่วมการออกกำลังกายทั้งหมด

 

60 0

4. กิจกรรที่ 5 ส่งเสริมการคลายเครียดด้วยดนตรีบำบัด

วันที่ 2 กรกฎาคม 2567 เวลา 13:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

1.มีผู้สูงอายุเข้าร่วมการอบรมโครงการ จำนวน 60 คน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.มีผู้สูงอายุเข้าร่วมกิจกรรมที่ 5-6 ส่งเสริมการคลายเครียดด้วยดนตรีบำบัด และติดตามคัดกรองภาวะเครียดและภาวะซึมเศร้าซ้ำ หลังจากการอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพและวิธีลดความเครียดโดยการออกกำลังกาย 3 เดือน ในครั้งนี้จำนวน 60 คน คิดเป็นร้อยละ 100.00 พบว่าผู้สูงอายุมีความสนใจและเข้าใจถึงกระบวนการดูแลสุขภาพโดยการส่งเสริมการคลายเครียดด้วยดนตรีบำบัด ในการดูแลรักษาสุขภาพของตนเอง และบุคคลรอบข้างได้ ซึ่งการส่งเสริมการคลายเครียดด้วยดนตรีบำบัดในครั้งนี้ผู้สูงอายุยังได้เรียนรู้ถึงกิจกรรมต่างๆที่สามารถประยุกต์ในชิวิตประจำวันของตนเองได้ ซึ่งในการส่งเสริมการคลายเครียดด้วยดนตรีบำบัดทางผู้จัดได้นำเสนอในรูปแบบการฝีกลมหายใจประกอบท่าทางที่ส่งผลต่อการดูแลสุขภาพในยามว่าง เช่นการใช้เพลงลทมหายใจเข้าออก ของธรรมะเสถียร เพื่อกระตู้นให้ผู้สูงอายุมีสธิการฝึกช่วงการหายใจและประกอบด้วยท่าทางที่เหมาะสมกับผู้สูงอายุในการทำกิจกรรม ซึ่งผลการฝึกด้วยดนตรีบำบัดครั้งที่ 1 มีผู้สูงอายสามารถเข้าใจและปฏิบัติได้ จำนวน 60 คน  คิดเป็นร้อยละ 100.00 และในกิจกรรมที่ 2 เป็นการฝึกการยืดเหยียดกล้ามเนื้อด้วยฤาษีคัดตน 15 ท่า พร้อมกับใช้เสียงเพลงประกอบ ในการฝึกอารมณ์และสมาธิ ซึ่งท่าที่ใช้ในการฝึกครั้งนี้ มีแค่ 8 ท่า เพื่อให้เหมาะสมกับผู้สูงอายุ โดยการฝึกในกิจกรรมที่ 2 พบว่าจากจำนวน 60 คน มีผู้สาสามารถปฏิบัติได้ จำนวน 40 คน คิดเป็นร้อยละ 66.66 และกิจกรรมที่ 3 คือการใช้ท่าทางการรำในการประกอบกิจกรรมเพื่อให้ผู้สูงอายุสามารถเป็นกิจกรรมที่สามารถช่วยลดความเครียดในตัวเองและสร้างกิจกรรมกลุ่มในชุมชน โดยกิจกรรมนี้ มีผู้เข้าร่วมจำนวน 50 คน และสามารถปฏิบัติได้จำนวน 20 คน คิดเป็นร้อยละ 40.00

 

60 0

5. กิจกรรมที่ 6 ติดตามคัดกรองภาวะเครียดและภาวะซึมเศร้าซ้ำ หลังจากอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพและวิธีลดความเครียดโดยการออกกำลังกาย 3 เดือน

วันที่ 2 กรกฎาคม 2567 เวลา 13:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ผู้สูงอายุมีความรู้เกี่ยวกับการลดภาวะคลายเครียดด้วยดนตรีบำบัดและสามารถติดตามภาวะเครียดและภาวะซึมเศร้าซ้ำ ในระยะเวลา 3 เดือน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

.มีผู้สูงอายุเข้าร่วมกิจกรรมที่ 5-6 ส่งเสริมการคลายเครียดด้วยดนตรีบำบัด และติดตามคัดกรองภาวะเครียดและภาวะซึมเศร้าซ้ำ หลังจากการอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพและวิธีลดความเครียดโดยการออกกำลังกาย 3 เดือน ในครั้งนี้จำนวน 60 คน คิดเป็นร้อยละ 100.00 พบว่าผู้สูงอายุมีความสนใจและเข้าใจถึงกระบวนการดูแลสุขภาพโดยการส่งเสริมการคลายเครียดด้วยดนตรีบำบัด ในการดูแลรักษาสุขภาพของตนเอง และบุคคลรอบข้างได้ ซึ่งการส่งเสริมการคลายเครียดด้วยดนตรีบำบัดในครั้งนี้ผู้สูงอายุยังได้เรียนรู้ถึงกิจกรรมต่างๆที่สามารถประยุกต์ในชิวิตประจำวันของตนเองได้ ซึ่งในการส่งเสริมการคลายเครียดด้วยดนตรีบำบัดทางผู้จัดได้นำเสนอในรูปแบบการฝีกลมหายใจประกอบท่าทางที่ส่งผลต่อการดูแลสุขภาพในยามว่าง เช่นการใช้เพลงลทมหายใจเข้าออก ของธรรมะเสถียร เพื่อกระตู้นให้ผู้สูงอายุมีสธิการฝึกช่วงการหายใจและประกอบด้วยท่าทางที่เหมาะสมกับผู้สูงอายุในการทำกิจกรรม ซึ่งผลการฝึกด้วยดนตรีบำบัดครั้งที่ 1 มีผู้สูงอายสามารถเข้าใจและปฏิบัติได้ จำนวน 60 คน  คิดเป็นร้อยละ 100.00 และในกิจกรรมที่ 2 เป็นการฝึกการยืดเหยียดกล้ามเนื้อด้วยฤาษีคัดตน 15 ท่า พร้อมกับใช้เสียงเพลงประกอบ ในการฝึกอารมณ์และสมาธิ ซึ่งท่าที่ใช้ในการฝึกครั้งนี้ มีแค่ 8 ท่า เพื่อให้เหมาะสมกับผู้สูงอายุ โดยการฝึกในกิจกรรมที่ 2 พบว่าจากจำนวน 60 คน มีผู้สาสามารถปฏิบัติได้ จำนวน 40 คน คิดเป็นร้อยละ 66.66 และกิจกรรมที่ 3 คือการใช้ท่าทางการรำในการประกอบกิจกรรมเพื่อให้ผู้สูงอายุสามารถเป็นกิจกรรมที่สามารถช่วยลดความเครียดในตัวเองและสร้างกิจกรรมกลุ่มในชุมชน โดยกิจกรรมนี้ มีผู้เข้าร่วมจำนวน 50 คน และสามารถปฏิบัติได้จำนวน 20 คน คิดเป็นร้อยละ 40.00 และในกิจกรรมที่ 6 ติดตามคัดกรองภาวะเครียดและภาวะซึมเศร้าซ้ำ หลังจากการอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพและวิธีลดความเครียดโดยการออกกำลังกาย 3 เดือน ผู้สูงอายุได้ประเมินแบบสอบถามด้วยตนเองพบว่า ไม่มีภาวะเครียดในตัวเอง คิดเป็น 100.00 จากผู้เข้าร่วมกิจกรรมทั้งหมด ซึ่งทำให้ให้พบว่า กิจกรรมที่ 5-6 ส่งผลให้สุขภาพของผู้สูงอายุดีขึ้นและสามารถดำรงชีวิตในชุมชนได้ปกติ

 

60 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อเพิ่มจำนวนผู้สูงอายุ ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ
ตัวชี้วัด : ผู้สูงอายุ ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (150 นาทีต่อสัปดาห์) เพิ่มขึ้้น
45.50 60.00

 

2 เพื่อเพิ่มจำนวนผู้สูงอายุ ที่มีการบริโภคอาหารปลอดภัยและเพียงพอ
ตัวชี้วัด : ร้อยละของผู้สูงอายุ ที่มีการบริโภคอาหาร ผัก ผลไม้ เพื่อสุขภาพอย่างเพียงพอ เพิ่มขึ้น
43.60 60.00

 

3 เพื่อเพิ่มผู้สูงอายุที่มีภาวะซึมเศร้าต้องได้รับการดูแล
ตัวชี้วัด : จำนวนผู้สูงอายุที่มีภาวะซึมเศร้าได้รับการดูแล เพิ่มขึ้น
9.00 9.00

 

4 เพื่อเพิ่มการเข้าร่วมกลุ่ม/ชมรม ของผู้สูงอายุ
ตัวชี้วัด : ผู้สูงอายุมีกลุ่มหรือสังกัดชมรม เพิ่มขึ้น
35.40 50.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 60
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ 60
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเพิ่มจำนวนผู้สูงอายุ ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (2) เพื่อเพิ่มจำนวนผู้สูงอายุ ที่มีการบริโภคอาหารปลอดภัยและเพียงพอ (3) เพื่อเพิ่มผู้สูงอายุที่มีภาวะซึมเศร้าต้องได้รับการดูแล (4) เพื่อเพิ่มการเข้าร่วมกลุ่ม/ชมรม ของผู้สูงอายุ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมคณะกรรมการชมรมฯและที่ปรึกษา ครั้งที่ 1 (2) ให้ความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพกาย สุขภาพจิตและส่งเสริมคุณภาพชีวิตผู้สูงวัย (3) สาธิตการออกกำลังกาย"ขยับกายผู้สูงอายุด้วยไม้พลอง" (4) กิจกรรมที่ 4 กิจกรรมออกกำลังกายต่อเนื่อง (5) กิจกรรที่ 5 ส่งเสริมการคลายเครียดด้วยดนตรีบำบัด (6) กิจกรรมที่ 6 ติดตามคัดกรองภาวะเครียดและภาวะซึมเศร้าซ้ำ หลังจากอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพและวิธีลดความเครียดโดยการออกกำลังกาย 3 เดือน (7) ติดตามเยี่ยมเสริมพลัง ครั้งที่ 1 (8) ติดตามเยี่ยมเสริมพลัง ครั้งที่ 2 (9) ประชุมคณะกรรมการชมรมฯและที่ปรึกษา ครั้งที่ 2

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการส่งเสริมสุขภาพในกลุ่มผู้สูงอายุปี 2567 จังหวัด

รหัสโครงการ L3308-67-02-03

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางชะบา อินทร์เอียด )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด