กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครตรัง


“ โครงการ ค้นหาผู้ป่วยวัณโรครายใหม่เชิงรุกในเขตเทศบาลนครตรัง ”

ตำบลทับเที่ยง อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง

หัวหน้าโครงการ
นายสมบัติ สธนเสาวภาคย์

ชื่อโครงการ โครงการ ค้นหาผู้ป่วยวัณโรครายใหม่เชิงรุกในเขตเทศบาลนครตรัง

ที่อยู่ ตำบลทับเที่ยง อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 2567 – L6896 – 01 – 03 เลขที่ข้อตกลง 10/2567

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤศจิกายน 2566 ถึง 30 กันยายน 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการ ค้นหาผู้ป่วยวัณโรครายใหม่เชิงรุกในเขตเทศบาลนครตรัง จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลทับเที่ยง อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครตรัง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการ ค้นหาผู้ป่วยวัณโรครายใหม่เชิงรุกในเขตเทศบาลนครตรัง



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการ ค้นหาผู้ป่วยวัณโรครายใหม่เชิงรุกในเขตเทศบาลนครตรัง " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลทับเที่ยง อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 2567 – L6896 – 01 – 03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤศจิกายน 2566 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 88,985.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครตรัง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

อุบัติการณ์วัณโรคของประเทศไทยในช่วง 20 ปีที่ผ่านมามีแนวโน้มลดลง ในขณะที่จำนวนผู้ป่วยวัณโรครายใหม่และกลับเป็นซ้ำที่ค้นพบและขึ้นทะเบียนรักษา (Treatment Coverage) ปี พ.ศ. 2558 - 2563 มีแนวโน้มเพิ่มขึ้น โดยอัตราการค้นพบและขึ้นทะเบียนรักษาของผู้ป่วยวัณโรครายใหม่และกลับเป็นซ้ำในประเทศไทยตั้งแต่ปี พ.ศ. 2558 - 2563 พบร้อยละ 53, 57, 74, 80, 84 และ 82 ตามลำดับ และจากรายงานวัณโรคระดับโลก โดยองค์การอนามัยโลก (WHO, Global Tuberculosis Report 2021) คาดการณ์ว่าในปี พ.ศ 2563 ประเทศไทย จะมีอุบัติการณ์ ผู้ป่วยวัณโรครายใหม่และกลับมาเป็นซ้ำ 105,000 ราย หรือคิดเป็น 150 ต่อประชากรแสนคน ผู้ป่วยวัณโรคเสียชีวิต 12,000 ราย แต่ผลการดำเนินงานวัณโรคของประเทศไทยปี พ.ศ. 2563 กลับพบว่ามีผู้ป่วยวัณโรครายใหม่และกลับเป็นซ้ำขึ้นทะเบียนรักษา 85,837 ราย ซึ่งผลงานการคัดกรองเพื่อขึ้นทะเบียนรักษาผู้ป่วยยังต่ำกว่าที่คาดการณ์ไว้ ผลการรักษาผู้ป่วยวัณโรครายใหม่และกลับเป็นซ้ำในประเทศไทยที่ผ่านมามีแนวโน้มอัตราการรักษาสำเร็จเพิ่มขึ้น รักษาล้มเหลว ขาดยาและโอนออกลดลง ส่วนอัตราการเสียชีวิตยังคงสูงและเป็นปัญหาของประเทศไทย เนื่องจากผู้ป่วยวัณโรคส่วนใหญ่สูงอายุและมีโรคร่วม
      สถานการณ์ผลการค้นหาและขึ้นทะเบียนการรักษาวัณโรคของจังหวัดตรังทุกประเภท ในปี 2565 พบว่า จังหวัดตรังขึ้นทะเบียนการรักษาวัณโรครวม จำนวน 491 ราย อำเภอเมืองตรัง จำนวน 199 ราย และในเขตเทศบาลนครตรัง จำนวน 47 ราย คิดเป็นร้อยละ 51.1, 85.7 และ 55.95 ตามลำดับ พบว่าผลงานการคัดกรองเพื่อขึ้นทะเบียนรักษาผู้ป่วยในพื้นที่ทุกระดับต่ำกว่าเป้าหมายที่กำหนด (ร้อยละ 90 ของจำนวนผู้ป่วยที่คาดการณ์ว่าจะพบเพื่อขึ้นทะเบียนรักษา) ส่วนอัตราการรักษาสำเร็จ ปี 2565 ของจังหวัดตรัง อำเภอเมืองตรัง และเขตเทศบาลนครตรัง มีอัตราการรักษาสำเร็จ ร้อยละ84, 88.7, 90.8 ตามลำดับ ซึ่งพบว่าอัตรารักษาสำเร็จสูงและผ่านเกณฑ์ (ร้อยละ 85)อัตราเสียชีวิตและขาดยาของจังหวัดตรัง อำเภอเมืองตรัง และเขตเทศบาลนครตรัง ร้อยละ 10.5 , 11.22 , 7.14 จากข้อมูลพบว่าอัตราเสียชีวิตและขาดยาสูงทั้งในระดับจังหวัด อำเภอเมืองและเขตเทศบาลนครตรัง ในการนี้ งานป้องกันควบคุมโรคและระบาดวิทยา โรงพยาบาลตรัง ได้เล็งเห็นถึงความสำคัญของการแก้ไขปัญหาโรควัณโรคในชุมชน โดยดำเนินการพัฒนาศักยภาพของทีม อสม. เรื่องของโรควัณโรคและแนวทางการคัดกรองที่ถูกต้อง รวมทั้งการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ให้ความรู้เรื่องวัณโรคแก่ชุมชน และดำเนินการเร่งรัดการค้นหาผู้ที่มีอาการเข้าข่ายเป็นผู้ป่วยติดเชื้อวัณโรครายใหม่ เช่น ผู้สูงอายุที่มีโรคร่วม , ผู้ป่วยเบาหวานรายใหม่และที่ควบคุมน้ำตาลไม่ได้ ,ผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง , ผู้ป่วยปอดอุดกั้นเรื้อรัง , ผู้ป่วยจิตเวชและติดยาเสพติด สูบบุหรี่ , ผู้สัมผัสวัณโรคร่วมบ้าน รวมทั้งมีการดำเนินการส่งต่อเพื่อเข้ารับรักษาโดยเร็ว
      ดังนั้น งานป้องกันควบคุมโรคและระบาดวิทยา โรงพยาบาลตรัง จึงได้จัดทำโครงการเฝ้าระวัง ค้นหาผู้ป่วยวัณโรครายใหม่เชิงรุก เทศบาลนครตรัง ปี 2567 ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. อสม.ที่ได้รับการอบรมมีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับการค้นหาผู้ป่วย การป้องกันและควบคุม โรควัณโรคเพิ่มขึ้น
  2. เพื่อเร่งรัดการค้นหาผู้ป่วยรายใหม่และลดความล่าช้าในการตรวจวินิจฉัยในกลุ่มเสี่ยง
  3. ผู้ป่วยวัณโรคที่พบจากการคัดกรองได้เข้าสู่ระบบ การขึ้นทะเบียนรักษา

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ประชุมคณะทำงานโครงการและผู้เกี่ยวข้อง ประกอบด้วย เจ้าหน้าที่จากโรงพยาบาลตรังและเทศบาลนครตรัง
  2. กิจกรรมอบรมให้ความรู้
  3. อสม.สำรวจและคัดกรองประชาชนกลุ่มเสี่ยงทุกหลังคาเรือนในเขตความรับผิดชอบ
  4. จัดกิจกรรมคัดกรองด้วยการเอกซเรย์ปอดแก่กลุ่มที่มีภาวะเสี่ยง โดยรถเอกซเรย์ ดิจิตอลพระราชทานในชุมชน จำนวน 3 ครั้งต่อปี
  5. จัดทำสื่อให้สุขศึกษาและประชาสัมพันธ์การป้องกันควบคุมโรควัณโรคในชุมชน
  6. ประชุมคณะทำงานโครงการและผู้เกี่ยวข้อง ประกอบด้วย เจ้าหน้าที่จากโรงพยาบาลตรังและเทศบาลนครตรัง จำนวน 3 ครั้ง
  7. อบรมให้ความรู้แก่ อสม. และสร้างทีมเพื่อค้นหาผู้ป่วยเชิงรุกในชุมชน
  8. อสม.สำรวจและคัดกรองประชาชนกลุ่มเสี่ยงทุกหลังคาเรือนในเขตความรับผิดชอบ
  9. จัดกิจกรรมคัดกรองด้วยการเอกซเรย์ปอดแก่กลุ่มที่มีภาวะเสี่ยง โดยรถเอกซเรย์ ดิจิตอลพระราชทานในชุมชน จำนวน 3 ครั้งต่อปี
  10. จัดทำสื่อให้สุขศึกษาและประชาสัมพันธ์การป้องกันควบคุมโรควัณโรคในชุมชน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. อสม.ได้รับการอบรมให้ความรู้ครบทุกคน มีองค์ความรู้ในการคัดกรอง ป้องกันและควบคุมโรควัณโรค
  2. ประชาชนกลุ่มที่มีภาวะเสี่ยงได้รับการคัดกรองด้วยการเอกซเรย์ปอดโดยรถเอกซเรย์ดิจิตอลพระราชทาน ในชุมชนอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง
  3. ผู้ป่วยวัณโรครายใหม่ในชุมชนได้รับการส่งต่อ ตรวจและรักษาตามแนวทางการรักษาวัณโรคของโรงพยาบาลตรัง สามารถรักษาสำเร็จเพิ่มมากขึ้น

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 อสม.ที่ได้รับการอบรมมีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับการค้นหาผู้ป่วย การป้องกันและควบคุม โรควัณโรคเพิ่มขึ้น
ตัวชี้วัด : อสม.ที่ได้รับการอบรมมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการค้นหาผู้ป่วย การป้องกันและควบคุมโรควัณโรคอย่างน้อย ร้อยละ 90

 

2 เพื่อเร่งรัดการค้นหาผู้ป่วยรายใหม่และลดความล่าช้าในการตรวจวินิจฉัยในกลุ่มเสี่ยง
ตัวชี้วัด : อสม. สำรวจและคัดกรองประชาชนกลุ่มเสี่ยงครอบคลุมทุกหลังคาเรือนตามทะเบียนที่รับผิดชอบ และกลุ่มที่คัดกรองและพบภาวะเสี่ยงเป็นวัณโรคได้รับการคัดกรองด้วยการเอกซเรย์ปอด ร้อยละ 90

 

3 ผู้ป่วยวัณโรคที่พบจากการคัดกรองได้เข้าสู่ระบบ การขึ้นทะเบียนรักษา
ตัวชี้วัด : ผู้ป่วยวัณโรคที่พบจากการคัดกรองได้เข้าสู่ระบบการรักษาร้อยละ 100

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) อสม.ที่ได้รับการอบรมมีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับการค้นหาผู้ป่วย การป้องกันและควบคุม โรควัณโรคเพิ่มขึ้น (2) เพื่อเร่งรัดการค้นหาผู้ป่วยรายใหม่และลดความล่าช้าในการตรวจวินิจฉัยในกลุ่มเสี่ยง (3) ผู้ป่วยวัณโรคที่พบจากการคัดกรองได้เข้าสู่ระบบ การขึ้นทะเบียนรักษา

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมคณะทำงานโครงการและผู้เกี่ยวข้อง ประกอบด้วย เจ้าหน้าที่จากโรงพยาบาลตรังและเทศบาลนครตรัง (2) กิจกรรมอบรมให้ความรู้ (3) อสม.สำรวจและคัดกรองประชาชนกลุ่มเสี่ยงทุกหลังคาเรือนในเขตความรับผิดชอบ (4) จัดกิจกรรมคัดกรองด้วยการเอกซเรย์ปอดแก่กลุ่มที่มีภาวะเสี่ยง โดยรถเอกซเรย์ ดิจิตอลพระราชทานในชุมชน จำนวน 3 ครั้งต่อปี (5) จัดทำสื่อให้สุขศึกษาและประชาสัมพันธ์การป้องกันควบคุมโรควัณโรคในชุมชน (6) ประชุมคณะทำงานโครงการและผู้เกี่ยวข้อง ประกอบด้วย เจ้าหน้าที่จากโรงพยาบาลตรังและเทศบาลนครตรัง จำนวน 3 ครั้ง (7) อบรมให้ความรู้แก่ อสม. และสร้างทีมเพื่อค้นหาผู้ป่วยเชิงรุกในชุมชน (8) อสม.สำรวจและคัดกรองประชาชนกลุ่มเสี่ยงทุกหลังคาเรือนในเขตความรับผิดชอบ (9) จัดกิจกรรมคัดกรองด้วยการเอกซเรย์ปอดแก่กลุ่มที่มีภาวะเสี่ยง โดยรถเอกซเรย์ ดิจิตอลพระราชทานในชุมชน จำนวน 3 ครั้งต่อปี (10) จัดทำสื่อให้สุขศึกษาและประชาสัมพันธ์การป้องกันควบคุมโรควัณโรคในชุมชน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการ ค้นหาผู้ป่วยวัณโรครายใหม่เชิงรุกในเขตเทศบาลนครตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 2567 – L6896 – 01 – 03

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายสมบัติ สธนเสาวภาคย์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด