โครงการจัดการขยะในโรงเรียนวัดบ้านสวน(คงวิทยาคาร) ปี 2567
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการจัดการขยะในโรงเรียนวัดบ้านสวน(คงวิทยาคาร) ปี 2567 ”
หัวหน้าโครงการ
นางอำพร บัวขาว
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบ้านสวน
สิงหาคม 2567
ชื่อโครงการ โครงการจัดการขยะในโรงเรียนวัดบ้านสวน(คงวิทยาคาร) ปี 2567
ที่อยู่ จังหวัด
รหัสโครงการ 67-L3325-2-3 เลขที่ข้อตกลง 3/2567
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 31 มกราคม 2567 ถึง 31 สิงหาคม 2567
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการจัดการขยะในโรงเรียนวัดบ้านสวน(คงวิทยาคาร) ปี 2567 จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบ้านสวน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการจัดการขยะในโรงเรียนวัดบ้านสวน(คงวิทยาคาร) ปี 2567
บทคัดย่อ
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อสร้างความตระหนักและสร้างจิตสำนึกในการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมให้กับนักเรียนและบุคลากรในโรงเรียน (2) เพื่อเพิ่มครัวเรือนที่คัดแยกขยะเป็นประจำ (3) เพื่อลดปริมาณขยะทุกประเภทในโรงเรียน กก.ต่อวัน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมวางแผนโครงการร่วมกับคณะทำงาน ของโรงเรียนจำนวน 10 คน (2) pre test ก่อนอบรมเรื่องการคัดแยกขยะ (3) อบรมให้ความรู้การคัดแยกขยะ (4) สร้างจุดสาธิตการคัดแยกขยะในโรงเรียน (5) รณรงค์ BIG CLEANING DAY (6) ธนาคารขยะ (7) ประชุมคณะทำงานขับเคลื่อนการจัดการขยะทุก 2 เดือน (8) Pretest ก่อนอบรมเรื่องการคัดแยกขยะ (9) กิจกรรม Post test หลังอบรม รวมถึงประเมินความพึงพอใจหลังเข้าร่วมโครงการ (10) สรุปและประเมินผลโครงการ
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ควรมีการต่อยอดในการทำกิจกรรมธนาคารขยะ และหาวิทยากรมาฝึกอบรมการนำขยะมาแปรรูปเป็นสินค้า เช่น ไม้กวาดจากขวดพลาสติก
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ปัจจุบันปัญหาเรื่องขยะนับว่าเป็นปัญหาสำคัญมาทั้งในระดับชุมชนและระดับประเทศ สาเหตุเนื่องจากประชากรในประเทศมีจำนวนมากขึ้น ชุมชนก็เพิ่มขึ้น สถานประกอบการต่าง ๆ มีมากขึ้น และสิ่งที่ตามมาอย่างเลี่ยงไม่ได้ก็คือ ขยะ ย่อมมีจำนวนมากขึ้นตามไปด้วย จนกระทั่งการกำจัดไม่สมดุลกับการเพิ่มขึ้นของจำนวนขยะ ในแต่ละวันจะมีขยะเพิ่มขึ้นเป็นจำนวนนับร้อยล้านตัน แต่เราสามารถกำจัดขยะได้เพียงวันละไม่กี่สิบล้านตันเท่านั้น จึงมีขยะที่เหลือตกค้างรอการกำจัดอยู่จำนวนมาก แม้รัฐบาลจะมีพื้นที่ที่จัดไว้เพื่อรองรับขยะแต่ก็ไม่เพียงพอกับปริมาณขยะที่เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว สร้างปัญหาเป็นอย่างมากทั้งทางด้านทัศนวิสัย กลิ่น ความสะอาด ฯลฯ เกิดเป็นปัญหาขยะล้นเมือง ถึงแม้ว่าในปีหนึ่ง ๆ ประเทศจะต้องเสียงบประมาณเป็นจำนวนมากไปกับการจัดการด้านขยะ แต่ผลลัพธ์ที่ได้ก็ยังไม่เป็นที่น่าพอใจ เนื่องจากรัฐบาลยังมีการบริหารการจัดการขยะยังไม่ดีเท่าที่ควร ประกอบกับประชาชนในประเทศเองก็ยังขาดจิตสำนึกในการทิ้งขยะให้เป็นที่ การคัดแยกขยะก่อนทิ้ง รวมทั้งขาดความรู้เกี่ยวกับการนำขยะกลับมาใช้ใหม่เพราะพอได้ยินคำว่า "ขยะ" หลาย ๆ คนก็ไม่สนใจ ละเลยและไม่เห็นคุณค่า ทั้งที่ขยะเหล่านั้นหากนำมาคัดแยกอย่างถูกวิธีแล้วจะสร้างประโยชน์ได้ และยังสามารถนำกลับมาหมุนเวียนเข้ากระบวนการผลิตเพื่อนำกลับมาใช้ใหม่ได้อีกครั้ง ซึ่งเป็นการประหยัดทรัพยากรและเงินงบประมาณแผ่นดินได้เป็นจำนวนมาก รวมทั้งปริมาณขยะก็จะลดจำนวนลงได้มาก ซึ่งจะส่งผลดีทั่งต่อสิ่งแวดล้อม ต่อประชากร และต่อประเทศชาติต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1.เพื่อสร้างความตระหนักและสร้างจิตสำนึกในการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมให้กับนักเรียนและบุคลากรในโรงเรียน
- เพื่อเพิ่มครัวเรือนที่คัดแยกขยะเป็นประจำ
- เพื่อลดปริมาณขยะทุกประเภทในโรงเรียน กก.ต่อวัน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ประชุมวางแผนโครงการร่วมกับคณะทำงาน ของโรงเรียนจำนวน 10 คน
- pre test ก่อนอบรมเรื่องการคัดแยกขยะ
- อบรมให้ความรู้การคัดแยกขยะ
- สร้างจุดสาธิตการคัดแยกขยะในโรงเรียน
- รณรงค์ BIG CLEANING DAY
- ธนาคารขยะ
- ประชุมคณะทำงานขับเคลื่อนการจัดการขยะทุก 2 เดือน
- Pretest ก่อนอบรมเรื่องการคัดแยกขยะ
- กิจกรรม Post test หลังอบรม รวมถึงประเมินความพึงพอใจหลังเข้าร่วมโครงการ
- สรุปและประเมินผลโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
84
กลุ่มวัยทำงาน
10
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.นักเรียนในโรงเรียนมีความตระหนักและมีจิตสำนึกที่ดีในการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม
2.นักเรียนนำความรู้ที่ได้ไปคัดแยกขยะในครัวเรือน
3.ลดปริมาณขยะทุกประเภทในโรงเรียน
4.นักเรียนสามารถดำเนินการธนาคารขยะในโรงเรียนได้
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. ประชุมวางแผนโครงการร่วมกับคณะทำงาน ของโรงเรียนจำนวน 10 คน
วันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2567 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
1.นายสุริยา ชาญทะเล ผู้อำนวยการโรงเรียนวัดบ้านสวน(คงวิทยาคาร) จัดประชุมคณะครูและบุคลากรในโรงเรียน โดยมอบหน้าที่ให้นางอำพร บัวขาว ผู้รับผิดชอบโครงการจัดการขยะในโรงเรียนวัดบ้านสวน(คงวิทยาคาร) ปี 2567 ดำเนินการประชุมเพื่อชี้แจงวิธีการดำเนินงานทราบ และมอบหมายงานตามคำสั่งโงเรียนวัดบ้านสวน(คงวิทยาคาร) ให้กับบุคลากร วันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2567 ณ ห้องประชุมโรงเรียนวัดบ้านสวน(คงวิทยาคาร) มีผู้เข้าร่วม จำนวน 10 คน
โดยชี้แจงให้ทราบถึงที่มาและวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- คณะครูและบุคลากรทุกคนในโรงเรียนวัดบ้านสวน(คงวิทยาคาร) รับทราบรายละเอียดโครงการจัดการขยะในโรงเรียนวัดบ้านสวน(คงวิทยาคาร) ปี 2567 และปฏิบัติตามคำสั่งโรงเรียนวัดบ้านสวน(คงวิทยาคาร)
0
0
2. สร้างจุดสาธิตการคัดแยกขยะในโรงเรียน
วันที่ 21 กุมภาพันธ์ 2567 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
โรงเรียนวัดบ้านสวน (คงวิทยาคาร) จัดซื้อจัดจ้างรายการต่อไปนี้
1. ตะแกรงลวดแยกขยะประเภทพลาสติกและขวดแก้ว ช่องใส่ขยะด้านบน บานประตูเปิดด้านหน้า จำนวน 1 ชุด
2. ชุดคัดแยกขยะ ขนาดความจุไม่น้อยกว่า 60 ลิตร ฝาช่องทิ้งบานสวิง 4 ใบ (สีแดง 1 ใบ/สีน้ำเงิน 1 ใบ/สีเขียว 1 ใบ/สีเหลือง 1 ใบ) พร้อมขาตั้งและป้ายข้อความโครงการ จำนวน 1 ชุด
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
โรงเรียนมีจุดคัดแยกขยะ นักเรียนรู้จักคัดแยกขยะจาก
- ตะแกรงลวดใส่ขวดพลาสติก / ขวดแก้ว
- ถังขยะแยกประเภท จำนวน 4 ถัง 4 สี (สีแดงใส่ขยะอันตราย / สีน้ำเงินใส่ขยะทั่วไป / สีเขียวใส่เศษอาหาร / สีเหลืองใส่ขยะทั่วไป)
0
0
3. ธนาคารขยะ
วันที่ 22 กุมภาพันธ์ 2567 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
โรงเรียนประชุมจัดตั้งโครงการธนาคารขยะ แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงานโครงการ มีสภานักเรียนเป็นตัวขับเคลื่อนในการดำเนินกิจกรรม โดยมีครูเจ้าของโครงการเป็นผู้ควบคุมการดำเนินงาน ครูประจำชั้นร่วมขับเคลื่อนโครงการ
วิธีการ
1. ครูเวรประจำวันพูดคุย ประชาสัมพันธ์เรื่องการคัดแยกขยะ การทิ้งขยะให้ถูกที่
2. ครูประจำชั้นประชาสัมพันธ์ให้นักเรียนนำขยะที่มีค่า เช่น ขวดพลาสติก กระดาษ จากที่บ้านมาจำหน่ายที่โรงเรียน
3. ครูผู้รับผิดชอบโครงการแจกสมุดบันทึกธนาคารขยะให้กับนักเรียนเพื่อจดบันทึกการจำหน่ายขยะ
4. ครูผู้รับผิดชอบโครงการนัดหมายพ่อค้าผู้รับซื้อของเก่ามารับซื้อขยะจากโรงเรียน
5. สภานักเรียนจดบันทึกรายการจำหน่ายขยะในโรงเรียน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
1.นักเรียนมีรายได้จากการนำขยะที่มีมูลค่ามาจำหน่ายที่โรงเรียน
2.โรงเรียนมีรายได้จ่ากการจำหน่ายขยะ
3.ฝึกให้นักเรียนรู้จักเห็นคุณค่าของขยะสิ่งของเหลือใช้
4.นักเรียนมีการรวมกลุ่มการทำกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง นำขยะมาจำหน่ายกับโรงเรียนเป็นประจำ
0
0
4. ประชุมคณะทำงานขับเคลื่อนการจัดการขยะทุก 2 เดือน
วันที่ 1 มีนาคม 2567 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
โรงเรียนจัดประชุมคณะทำงาน ประกอบด้วย ผู้อำนวยการโรงเรียน คณะครู และบุคลากรในโรงเรียน จำนวน 10 คน จำนวน 4 ครั้ง
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
เพื่อติดตามการดำเนินงาน ทราบความคืบหน้าของโครงการ
0
0
5. pre test ก่อนอบรมเรื่องการคัดแยกขยะ
วันที่ 22 มีนาคม 2567 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
- วันที่ 22 มีนาคม 2567 จัดทดสอบความรู้เบื้องต้น (Pretest) เรื่องขยะและวิธีการจัดการขยะ ให้กับนักเรียนช่วงชั้นประถมศึกษาปีที่ 1-6 จำนวน 69 คน ณ ศาลาสร้างสุขโรงเรียนวัดบ้านสวน(คงวิทยาคาร) โดยมีครูประจำชั้นเป็นผู้ควบคุมการทดสอบ เก็บรวบรวมข้อสอบ และตรวจให้คะแนนข้อสอบ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- นักเรียนจำนวน 69 คน ได้ทดสอบความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับขยะและการจัดการขยะก่อนการอบรม
- คุณครูทราบความรู้เบื้องต้นของนักเรียนจากผลการทดสอบ
0
0
6. อบรมให้ความรู้การคัดแยกขยะ
วันที่ 22 มีนาคม 2567 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
โรงเรียนจัดทำโครงการอบรมให้ความรู้เกี่่ยวกับปัญหาขยะ และวิธีการคัดแยกขยะให้กับนักเรียน จำนวน 69 คน ณ ศาลาสร้างสุข โรงเรียนวัดบ้านสวน (คงวิทยาคาร) โดยมีวิทยากรจากสำนักงานสาธารณสุขอำเภอควนขนุน จำนวน 2 คน มาให้ความรู้
- โดยเริ่มกิจกรรมตั้งแต่เวลา 09.00 น. ผู้อำนวยการโรงเรียนวัดบ้านสวน (คงวิทยาคาร) กล่าวเปิดการอบรมโครงการคัดแยกขยะ หลังจากนั้นวิทยากรดำเนินการอบรม กล่าวถึงปัญหาของขยะในปัจจุบัน พร้อมทั้งเปิดวิดีทัศน์ให้นักเรียนได้รับชม
- วิทยากรให้ความรู้เกี่ยวกับการประเภทของขยะ และวิธีการคัดแยกขยะแต่ละประเภท ได้แก่ ถังขยะ 4 สี คือ ถังขยะสีแดงใส่ขยะอันตราย ถังขยะสีเหลืองใส่ขยะรีไซเคิล ถังขยะสีน้ำเงินใส่ขยะทั่วไป ถังขยะสีเขียวใส่ขยะอินทรีย์(ขยะเปียก)
- เวลา 10.30 น. พักรับประทานอาหารว่างช่วงเช้า
- เวลา 11.00 น.วิทยากรเตรียมขยะแต่ละประเภทให้นักเรียนใส่ขยะในถังขยะทั้ง 4 สี
- เวลา 12.00 - 13.00 น. พักกลางวัน
- เวลา 13.00 น. วิทยากรดำเนินการอบรมต่อภาคบ่าย พร้อมเฉลยว่าขยะที่นักเรียนใส่ในถังขยะทั้ง 4 สีถูกต้องหรือไม่ และให้นักเรียนนำขยะมาใส่ถังขยะใหม่เพื่อทบทวนความรู้
นักเรียนนำขยะที่เตรียมมาจากบ้านคัดแยกใส่ถังขยะทั้ง 4 สี
- เวลา 14.30 น. พักรับประทานอาหารว่างช่วงบ่าย
- เวลา 14.50 น. วิทยากรสรุปวิธีการคัดแยกขยะทิ้งลงถังขยะให้ถูกต้อง และวิธีการนำขยะมารีไซเคิล ตามหลัก 3 R
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
นักเรียนโรงเรียนวัดบ้านสวน (คงวิทยาคาร) และคณะครู ได้รับความรู้เรื่องการคัดแยกขยะ การนำของเหลือใช้กลับมาใช้ให้เกิดประโยชน์อีกครั้งตามหลัก 3 R นักเรียนนำความรู้ที่ได้ไปใช้ในชีวิตประจำวัน สามารพเผยแพร่ให้กับครอบครัว และชุมชน ได้
0
0
7. Pretest ก่อนอบรมเรื่องการคัดแยกขยะ
วันที่ 22 มีนาคม 2567 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
โรงเรียนจัดการทดสอบก่อนการอบรมให้ความรู้เรื่องของขยะ และวิธีการคัดแยกขยะ (Pre test) เพื่อทดสอบความรู้เบื้องต้นของนักเรียน จำนวน 69 คน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ทราบความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับขยะของนักเรียน
0
0
8. รณรงค์ BIG CLEANING DAY
วันที่ 23 พฤษภาคม 2567 เวลา 14:30 น.กิจกรรมที่ทำ
โรงเรียนจัดกิจกรรม Big Cleaning Day ทุกวันพฤหัสบดีในชั่วโมงการจัดการเรียนการสอนกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน (ลูกเสือ/เนตรนารี) ซึ่งหลังจากการทบทวนกฎของลูกเสือ เนตรนารี หรือทำกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนเสร็จแล้ว คณะครูจะนำลูกเสือสำรองและลูกเสือสามัญ รวมทั้งเนตรนารี
รวมถึงเด็กปฐมวัยชั้น อนุบาลปีที่ 2-3 จำนวน 69 คน ร่วมกันทำกิจกรรมลูกเสือจิตอาสาพัฒนาโรงเรียนและชุมชน เก็บขยะในโรงเรียนและถนนในชุมชนรอบโรงเรียน รวมถึงวัดบ้านสวน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
จากการทำกิจกรรม Big Cleaning Day บริเวณภายในโรงเรียน ถนนในชุมชนรอบโรงเรียน รวมถึงบริเวณวัดมีความมากขึ้นสะอาด
0
0
9. กิจกรรม Post test หลังอบรม รวมถึงประเมินความพึงพอใจหลังเข้าร่วมโครงการ
วันที่ 29 สิงหาคม 2567 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
โรงเรียนจัดการทดสอบหลังการดำเนินอบรมโครงการคัดแยกขยะ และประเมินความพึงพอใจในการเข้าร่วมโครงการดังกล่าว โดยมีแบบทดสอบหลังเข้ารับการอบรม (Post Test) นักเรียน จำนวน 69 ชุด ทำแบบประเมินความพึงพอใจต่อโครงการคัดแยกขยะฯ ของนักเรียน ครูและบุคลากร จำนวน 94 คน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
นักเรียน ครูและบุคลากรมีความพึงพอใจต่อโครงการคัดแยกขยะภายในโรงเรียนวัดบ้านสวน (คงวิทยาคาร) ประจำปี 2567 ร้อยละ 90
0
0
10. สรุปและประเมินผลโครงการ
วันที่ 30 สิงหาคม 2567 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
- ทำแบบประเมินความพึงพอใจการดำเนินงานโครงการจัดการขยะในโรงเรียนวัดบ้านสวน (คงวิทยาคาร) ปีการศึกษา 2567 โดยมีนักเรียน จำนวน 69 ชุด ครูและบุคลากรจำนวน 10
- รวบรวมเอกสารการดำเนินโครงการจัดทำรูปเล่ม
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
จากผลการดำเนินโครงการจัดการขยะในโรงเรียนวัดบ้านสวน (คงวิทยาคาร) นักเรียน ครู และบุคลากร มีความพึงพอใจในการดำเนินงานโครงการฯ ร้อยละ 85 นักเรียนนำความรู้ที่ได้รับจากการอบรม การรณรงค์ ประชาสัมพันธ์และการจัดการเรียนรู้ในห้องเรียนไปใช้ในชีวิตประจำวัน ทั้งที่บ้าน โรงเรียนหรือที่สาธารณะอื่น ๆ ทำให้นักเรียน
รู้คุณค่าของขยะจากการนำขยะทั้งที่บ้านและที่โรงเรียนมาจำหน่ายให้กับพ่อค้าเกิดรายได้ให้กับตนเองเมื่อเกิดรายได้นักเรียนก็กระตือรือร้นในการคัดแยกขยะมากขึ้น อีกทั้งนักเรียนรู้จักนำขยะจากขวดพลาสติกมาประดิษฐ์เป็นของเล่นเพื่อลดภาระให้กับผู้ปกครอง ซึ่งทำให้นักเรียนมีความสุขมากขึ้น
0
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
นักเรียนรู้จักวิธีการคัดแยกขยะ มีจิตสำนึกในการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม สามารถนำความรู้ที่ได้ไปถ่ายทอดให้กับบุคคลในครอบครัวและชุมชน สามารถสร้างรายได้ให้กับตนเองในระหว่างเรียนได้
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
1.เพื่อสร้างความตระหนักและสร้างจิตสำนึกในการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมให้กับนักเรียนและบุคลากรในโรงเรียน
ตัวชี้วัด : 1.สร้างความตระหนักและสร้างจิตสำนึกในการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมให้เกิดกับนักเรียน ร้อยละ 80
(จำนวนนักเรียนทั้งหมด 81 คน บุคลากรในโรงเรียน จำนวน 10 คน รวมทั้งหมด 91 คน)
20.00
80.00
2
เพื่อเพิ่มครัวเรือนที่คัดแยกขยะเป็นประจำ
ตัวชี้วัด : ร้อยละของครัวเรือนที่คัดแยกขยะเป็นประจำ
94.00
98.00
3
เพื่อลดปริมาณขยะทุกประเภทในโรงเรียน กก.ต่อวัน
ตัวชี้วัด : ปริมาณขยะในโรงเรียนลดลง ร้อยละ 80
5.00
2.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
94
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
84
กลุ่มวัยทำงาน
10
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
0
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อสร้างความตระหนักและสร้างจิตสำนึกในการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมให้กับนักเรียนและบุคลากรในโรงเรียน (2) เพื่อเพิ่มครัวเรือนที่คัดแยกขยะเป็นประจำ (3) เพื่อลดปริมาณขยะทุกประเภทในโรงเรียน กก.ต่อวัน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมวางแผนโครงการร่วมกับคณะทำงาน ของโรงเรียนจำนวน 10 คน (2) pre test ก่อนอบรมเรื่องการคัดแยกขยะ (3) อบรมให้ความรู้การคัดแยกขยะ (4) สร้างจุดสาธิตการคัดแยกขยะในโรงเรียน (5) รณรงค์ BIG CLEANING DAY (6) ธนาคารขยะ (7) ประชุมคณะทำงานขับเคลื่อนการจัดการขยะทุก 2 เดือน (8) Pretest ก่อนอบรมเรื่องการคัดแยกขยะ (9) กิจกรรม Post test หลังอบรม รวมถึงประเมินความพึงพอใจหลังเข้าร่วมโครงการ (10) สรุปและประเมินผลโครงการ
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ควรมีการต่อยอดในการทำกิจกรรมธนาคารขยะ และหาวิทยากรมาฝึกอบรมการนำขยะมาแปรรูปเป็นสินค้า เช่น ไม้กวาดจากขวดพลาสติก
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ
แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ
ชื่อโครงการ โครงการจัดการขยะในโรงเรียนวัดบ้านสวน(คงวิทยาคาร) ปี 2567
รหัสโครงการ 67-L3325-2-3 รหัสสัญญา 3/2567 ระยะเวลาโครงการ 31 มกราคม 2567 - 31 สิงหาคม 2567
แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้
- ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
- การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
- การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
- ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
- กระบวนการชุมชน
- มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่
นักเรียนได้รับความรู้วิธีการคัดแยกขยะ สามารถแยกประเภทของขยะ รู้จักวิธีจัดการขยะ เช่น การนำขยะมารีไซเคิล การทำปุ๋ยหมัก การนำขยะมาแลกเปลี่ยนให้เกิดรายได้ และนักเรียนสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ในชีวิตประจำวันหรือบอกต่อบุคคลในครอบครัวได้
-สมุดบันทึกรายรับจากการจำหน่ายขยะของนักเรียน
-สมุดบันทึกการจำหน่ายขยะในโรงเรียนโดยสภานักเรียน
ปลูกฝังความคิดในการจัดการขยะ สร้างทักษะชีวิต
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่
นักเรียนรู้จักคัดแยกขยะ สามารถนำขยะไปใส่ในถังขยะสีที่แบ่งประเภทของขยะได้ถูกต้อง
-ภาพถ่าย
นำขยะไปคัดแยกได้ถูกต้อง
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่
นักเรียนจัดตั้งชมรมธนาคารขยะ โดยมีสภานักเรียนเป็นแกนนำในการดำเนินกิจกรรม
นักเรียนมีจิตสำนึกในการคัดแยกขยะ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
99. อื่นๆ
2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. การบริโภค
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน
นักเรียนนำความรู้จากการคัดแยกขยะไปขยายให้กับบุคคลในครอบครัว และชุมชน
ขยะในครัวเรือน และชุมชนลดลง
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
9. อื่นๆ
3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ
มีการจัดให้ความรู้การคัดแยกขยะ จัดทำตะแกรงแยกขยะประเภทขวดแก้วและขวดพลาสติก จัดซื้อถังขยะ 4 สี สำหรับคัดแยกขยะ
นักเรียนรู้จักคัดแยกขยะแต่ละประเภทได้ถูกวิธี
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้
นักเรียนคัดแยกขยะภายในโรงเรียน และให้นักเรียนนำขยะประเภทขวดพลาสติก กระดาษจากที่บ้าน มาขายโดยโรงเรียนติดต่อให้พ่อค้ามารับซื้อที่โรงเรียน ซึ่งจะมีสภานักเรียนจดบันทึกรายได้ของแต่ละคน
ทำให้รู้จักคุณค่าที่ได้จากการคัดขยะ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. อื่นๆ
4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ
5. เกิดกระบวนการชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน
นักเรียนนำความรู้ที่ได้ไปขยายบอกต่อให้กับสมาชิกในครอบครัวและชุมชน
สมาชิกในครอบครัวได้รับความรู้และนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
7. อื่นๆ
6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน
นักเรียนมีจิตสำนึกความภูมิใจที่มีส่วนร่วมในการรักษาสิ่งแวดล้อมและสร้างรายได้ให้กับตนเอง
มีรายได้เสริมระหว่างเรียน ลดภาระให้กับผู้ปกครอง
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
6. อื่นๆ
โครงการจัดการขยะในโรงเรียนวัดบ้านสวน(คงวิทยาคาร) ปี 2567 จังหวัด
รหัสโครงการ 67-L3325-2-3
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางอำพร บัวขาว )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการจัดการขยะในโรงเรียนวัดบ้านสวน(คงวิทยาคาร) ปี 2567 ”
หัวหน้าโครงการ
นางอำพร บัวขาว
สิงหาคม 2567
ที่อยู่ จังหวัด
รหัสโครงการ 67-L3325-2-3 เลขที่ข้อตกลง 3/2567
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 31 มกราคม 2567 ถึง 31 สิงหาคม 2567
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการจัดการขยะในโรงเรียนวัดบ้านสวน(คงวิทยาคาร) ปี 2567 จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบ้านสวน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการจัดการขยะในโรงเรียนวัดบ้านสวน(คงวิทยาคาร) ปี 2567
บทคัดย่อ
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อสร้างความตระหนักและสร้างจิตสำนึกในการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมให้กับนักเรียนและบุคลากรในโรงเรียน (2) เพื่อเพิ่มครัวเรือนที่คัดแยกขยะเป็นประจำ (3) เพื่อลดปริมาณขยะทุกประเภทในโรงเรียน กก.ต่อวัน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมวางแผนโครงการร่วมกับคณะทำงาน ของโรงเรียนจำนวน 10 คน (2) pre test ก่อนอบรมเรื่องการคัดแยกขยะ (3) อบรมให้ความรู้การคัดแยกขยะ (4) สร้างจุดสาธิตการคัดแยกขยะในโรงเรียน (5) รณรงค์ BIG CLEANING DAY (6) ธนาคารขยะ (7) ประชุมคณะทำงานขับเคลื่อนการจัดการขยะทุก 2 เดือน (8) Pretest ก่อนอบรมเรื่องการคัดแยกขยะ (9) กิจกรรม Post test หลังอบรม รวมถึงประเมินความพึงพอใจหลังเข้าร่วมโครงการ (10) สรุปและประเมินผลโครงการ
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ควรมีการต่อยอดในการทำกิจกรรมธนาคารขยะ และหาวิทยากรมาฝึกอบรมการนำขยะมาแปรรูปเป็นสินค้า เช่น ไม้กวาดจากขวดพลาสติก
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ปัจจุบันปัญหาเรื่องขยะนับว่าเป็นปัญหาสำคัญมาทั้งในระดับชุมชนและระดับประเทศ สาเหตุเนื่องจากประชากรในประเทศมีจำนวนมากขึ้น ชุมชนก็เพิ่มขึ้น สถานประกอบการต่าง ๆ มีมากขึ้น และสิ่งที่ตามมาอย่างเลี่ยงไม่ได้ก็คือ ขยะ ย่อมมีจำนวนมากขึ้นตามไปด้วย จนกระทั่งการกำจัดไม่สมดุลกับการเพิ่มขึ้นของจำนวนขยะ ในแต่ละวันจะมีขยะเพิ่มขึ้นเป็นจำนวนนับร้อยล้านตัน แต่เราสามารถกำจัดขยะได้เพียงวันละไม่กี่สิบล้านตันเท่านั้น จึงมีขยะที่เหลือตกค้างรอการกำจัดอยู่จำนวนมาก แม้รัฐบาลจะมีพื้นที่ที่จัดไว้เพื่อรองรับขยะแต่ก็ไม่เพียงพอกับปริมาณขยะที่เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว สร้างปัญหาเป็นอย่างมากทั้งทางด้านทัศนวิสัย กลิ่น ความสะอาด ฯลฯ เกิดเป็นปัญหาขยะล้นเมือง ถึงแม้ว่าในปีหนึ่ง ๆ ประเทศจะต้องเสียงบประมาณเป็นจำนวนมากไปกับการจัดการด้านขยะ แต่ผลลัพธ์ที่ได้ก็ยังไม่เป็นที่น่าพอใจ เนื่องจากรัฐบาลยังมีการบริหารการจัดการขยะยังไม่ดีเท่าที่ควร ประกอบกับประชาชนในประเทศเองก็ยังขาดจิตสำนึกในการทิ้งขยะให้เป็นที่ การคัดแยกขยะก่อนทิ้ง รวมทั้งขาดความรู้เกี่ยวกับการนำขยะกลับมาใช้ใหม่เพราะพอได้ยินคำว่า "ขยะ" หลาย ๆ คนก็ไม่สนใจ ละเลยและไม่เห็นคุณค่า ทั้งที่ขยะเหล่านั้นหากนำมาคัดแยกอย่างถูกวิธีแล้วจะสร้างประโยชน์ได้ และยังสามารถนำกลับมาหมุนเวียนเข้ากระบวนการผลิตเพื่อนำกลับมาใช้ใหม่ได้อีกครั้ง ซึ่งเป็นการประหยัดทรัพยากรและเงินงบประมาณแผ่นดินได้เป็นจำนวนมาก รวมทั้งปริมาณขยะก็จะลดจำนวนลงได้มาก ซึ่งจะส่งผลดีทั่งต่อสิ่งแวดล้อม ต่อประชากร และต่อประเทศชาติต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1.เพื่อสร้างความตระหนักและสร้างจิตสำนึกในการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมให้กับนักเรียนและบุคลากรในโรงเรียน
- เพื่อเพิ่มครัวเรือนที่คัดแยกขยะเป็นประจำ
- เพื่อลดปริมาณขยะทุกประเภทในโรงเรียน กก.ต่อวัน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ประชุมวางแผนโครงการร่วมกับคณะทำงาน ของโรงเรียนจำนวน 10 คน
- pre test ก่อนอบรมเรื่องการคัดแยกขยะ
- อบรมให้ความรู้การคัดแยกขยะ
- สร้างจุดสาธิตการคัดแยกขยะในโรงเรียน
- รณรงค์ BIG CLEANING DAY
- ธนาคารขยะ
- ประชุมคณะทำงานขับเคลื่อนการจัดการขยะทุก 2 เดือน
- Pretest ก่อนอบรมเรื่องการคัดแยกขยะ
- กิจกรรม Post test หลังอบรม รวมถึงประเมินความพึงพอใจหลังเข้าร่วมโครงการ
- สรุปและประเมินผลโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 84 | |
กลุ่มวัยทำงาน | 10 | |
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.นักเรียนในโรงเรียนมีความตระหนักและมีจิตสำนึกที่ดีในการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม 2.นักเรียนนำความรู้ที่ได้ไปคัดแยกขยะในครัวเรือน 3.ลดปริมาณขยะทุกประเภทในโรงเรียน 4.นักเรียนสามารถดำเนินการธนาคารขยะในโรงเรียนได้
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. ประชุมวางแผนโครงการร่วมกับคณะทำงาน ของโรงเรียนจำนวน 10 คน |
||
วันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2567 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ1.นายสุริยา ชาญทะเล ผู้อำนวยการโรงเรียนวัดบ้านสวน(คงวิทยาคาร) จัดประชุมคณะครูและบุคลากรในโรงเรียน โดยมอบหน้าที่ให้นางอำพร บัวขาว ผู้รับผิดชอบโครงการจัดการขยะในโรงเรียนวัดบ้านสวน(คงวิทยาคาร) ปี 2567 ดำเนินการประชุมเพื่อชี้แจงวิธีการดำเนินงานทราบ และมอบหมายงานตามคำสั่งโงเรียนวัดบ้านสวน(คงวิทยาคาร) ให้กับบุคลากร วันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2567 ณ ห้องประชุมโรงเรียนวัดบ้านสวน(คงวิทยาคาร) มีผู้เข้าร่วม จำนวน 10 คน โดยชี้แจงให้ทราบถึงที่มาและวัตถุประสงค์ของโครงการ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
0 | 0 |
2. สร้างจุดสาธิตการคัดแยกขยะในโรงเรียน |
||
วันที่ 21 กุมภาพันธ์ 2567 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำโรงเรียนวัดบ้านสวน (คงวิทยาคาร) จัดซื้อจัดจ้างรายการต่อไปนี้ 1. ตะแกรงลวดแยกขยะประเภทพลาสติกและขวดแก้ว ช่องใส่ขยะด้านบน บานประตูเปิดด้านหน้า จำนวน 1 ชุด 2. ชุดคัดแยกขยะ ขนาดความจุไม่น้อยกว่า 60 ลิตร ฝาช่องทิ้งบานสวิง 4 ใบ (สีแดง 1 ใบ/สีน้ำเงิน 1 ใบ/สีเขียว 1 ใบ/สีเหลือง 1 ใบ) พร้อมขาตั้งและป้ายข้อความโครงการ จำนวน 1 ชุด ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นโรงเรียนมีจุดคัดแยกขยะ นักเรียนรู้จักคัดแยกขยะจาก
- ตะแกรงลวดใส่ขวดพลาสติก / ขวดแก้ว
|
0 | 0 |
3. ธนาคารขยะ |
||
วันที่ 22 กุมภาพันธ์ 2567 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำโรงเรียนประชุมจัดตั้งโครงการธนาคารขยะ แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงานโครงการ มีสภานักเรียนเป็นตัวขับเคลื่อนในการดำเนินกิจกรรม โดยมีครูเจ้าของโครงการเป็นผู้ควบคุมการดำเนินงาน ครูประจำชั้นร่วมขับเคลื่อนโครงการ
วิธีการ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น1.นักเรียนมีรายได้จากการนำขยะที่มีมูลค่ามาจำหน่ายที่โรงเรียน
2.โรงเรียนมีรายได้จ่ากการจำหน่ายขยะ
3.ฝึกให้นักเรียนรู้จักเห็นคุณค่าของขยะสิ่งของเหลือใช้
|
0 | 0 |
4. ประชุมคณะทำงานขับเคลื่อนการจัดการขยะทุก 2 เดือน |
||
วันที่ 1 มีนาคม 2567 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำโรงเรียนจัดประชุมคณะทำงาน ประกอบด้วย ผู้อำนวยการโรงเรียน คณะครู และบุคลากรในโรงเรียน จำนวน 10 คน จำนวน 4 ครั้ง ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นเพื่อติดตามการดำเนินงาน ทราบความคืบหน้าของโครงการ
|
0 | 0 |
5. pre test ก่อนอบรมเรื่องการคัดแยกขยะ |
||
วันที่ 22 มีนาคม 2567 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
0 | 0 |
6. อบรมให้ความรู้การคัดแยกขยะ |
||
วันที่ 22 มีนาคม 2567 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำโรงเรียนจัดทำโครงการอบรมให้ความรู้เกี่่ยวกับปัญหาขยะ และวิธีการคัดแยกขยะให้กับนักเรียน จำนวน 69 คน ณ ศาลาสร้างสุข โรงเรียนวัดบ้านสวน (คงวิทยาคาร) โดยมีวิทยากรจากสำนักงานสาธารณสุขอำเภอควนขนุน จำนวน 2 คน มาให้ความรู้ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นนักเรียนโรงเรียนวัดบ้านสวน (คงวิทยาคาร) และคณะครู ได้รับความรู้เรื่องการคัดแยกขยะ การนำของเหลือใช้กลับมาใช้ให้เกิดประโยชน์อีกครั้งตามหลัก 3 R นักเรียนนำความรู้ที่ได้ไปใช้ในชีวิตประจำวัน สามารพเผยแพร่ให้กับครอบครัว และชุมชน ได้
|
0 | 0 |
7. Pretest ก่อนอบรมเรื่องการคัดแยกขยะ |
||
วันที่ 22 มีนาคม 2567 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำโรงเรียนจัดการทดสอบก่อนการอบรมให้ความรู้เรื่องของขยะ และวิธีการคัดแยกขยะ (Pre test) เพื่อทดสอบความรู้เบื้องต้นของนักเรียน จำนวน 69 คน ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นทราบความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับขยะของนักเรียน
|
0 | 0 |
8. รณรงค์ BIG CLEANING DAY |
||
วันที่ 23 พฤษภาคม 2567 เวลา 14:30 น.กิจกรรมที่ทำโรงเรียนจัดกิจกรรม Big Cleaning Day ทุกวันพฤหัสบดีในชั่วโมงการจัดการเรียนการสอนกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน (ลูกเสือ/เนตรนารี) ซึ่งหลังจากการทบทวนกฎของลูกเสือ เนตรนารี หรือทำกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนเสร็จแล้ว คณะครูจะนำลูกเสือสำรองและลูกเสือสามัญ รวมทั้งเนตรนารี รวมถึงเด็กปฐมวัยชั้น อนุบาลปีที่ 2-3 จำนวน 69 คน ร่วมกันทำกิจกรรมลูกเสือจิตอาสาพัฒนาโรงเรียนและชุมชน เก็บขยะในโรงเรียนและถนนในชุมชนรอบโรงเรียน รวมถึงวัดบ้านสวน ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจากการทำกิจกรรม Big Cleaning Day บริเวณภายในโรงเรียน ถนนในชุมชนรอบโรงเรียน รวมถึงบริเวณวัดมีความมากขึ้นสะอาด
|
0 | 0 |
9. กิจกรรม Post test หลังอบรม รวมถึงประเมินความพึงพอใจหลังเข้าร่วมโครงการ |
||
วันที่ 29 สิงหาคม 2567 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำโรงเรียนจัดการทดสอบหลังการดำเนินอบรมโครงการคัดแยกขยะ และประเมินความพึงพอใจในการเข้าร่วมโครงการดังกล่าว โดยมีแบบทดสอบหลังเข้ารับการอบรม (Post Test) นักเรียน จำนวน 69 ชุด ทำแบบประเมินความพึงพอใจต่อโครงการคัดแยกขยะฯ ของนักเรียน ครูและบุคลากร จำนวน 94 คน ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นนักเรียน ครูและบุคลากรมีความพึงพอใจต่อโครงการคัดแยกขยะภายในโรงเรียนวัดบ้านสวน (คงวิทยาคาร) ประจำปี 2567 ร้อยละ 90
|
0 | 0 |
10. สรุปและประเมินผลโครงการ |
||
วันที่ 30 สิงหาคม 2567 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจากผลการดำเนินโครงการจัดการขยะในโรงเรียนวัดบ้านสวน (คงวิทยาคาร) นักเรียน ครู และบุคลากร มีความพึงพอใจในการดำเนินงานโครงการฯ ร้อยละ 85 นักเรียนนำความรู้ที่ได้รับจากการอบรม การรณรงค์ ประชาสัมพันธ์และการจัดการเรียนรู้ในห้องเรียนไปใช้ในชีวิตประจำวัน ทั้งที่บ้าน โรงเรียนหรือที่สาธารณะอื่น ๆ ทำให้นักเรียน รู้คุณค่าของขยะจากการนำขยะทั้งที่บ้านและที่โรงเรียนมาจำหน่ายให้กับพ่อค้าเกิดรายได้ให้กับตนเองเมื่อเกิดรายได้นักเรียนก็กระตือรือร้นในการคัดแยกขยะมากขึ้น อีกทั้งนักเรียนรู้จักนำขยะจากขวดพลาสติกมาประดิษฐ์เป็นของเล่นเพื่อลดภาระให้กับผู้ปกครอง ซึ่งทำให้นักเรียนมีความสุขมากขึ้น
|
0 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
นักเรียนรู้จักวิธีการคัดแยกขยะ มีจิตสำนึกในการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม สามารถนำความรู้ที่ได้ไปถ่ายทอดให้กับบุคคลในครอบครัวและชุมชน สามารถสร้างรายได้ให้กับตนเองในระหว่างเรียนได้
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | 1.เพื่อสร้างความตระหนักและสร้างจิตสำนึกในการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมให้กับนักเรียนและบุคลากรในโรงเรียน ตัวชี้วัด : 1.สร้างความตระหนักและสร้างจิตสำนึกในการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมให้เกิดกับนักเรียน ร้อยละ 80 (จำนวนนักเรียนทั้งหมด 81 คน บุคลากรในโรงเรียน จำนวน 10 คน รวมทั้งหมด 91 คน) |
20.00 | 80.00 |
|
|
2 | เพื่อเพิ่มครัวเรือนที่คัดแยกขยะเป็นประจำ ตัวชี้วัด : ร้อยละของครัวเรือนที่คัดแยกขยะเป็นประจำ |
94.00 | 98.00 |
|
|
3 | เพื่อลดปริมาณขยะทุกประเภทในโรงเรียน กก.ต่อวัน ตัวชี้วัด : ปริมาณขยะในโรงเรียนลดลง ร้อยละ 80 |
5.00 | 2.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 94 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 84 | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 10 | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | 0 | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อสร้างความตระหนักและสร้างจิตสำนึกในการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมให้กับนักเรียนและบุคลากรในโรงเรียน (2) เพื่อเพิ่มครัวเรือนที่คัดแยกขยะเป็นประจำ (3) เพื่อลดปริมาณขยะทุกประเภทในโรงเรียน กก.ต่อวัน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมวางแผนโครงการร่วมกับคณะทำงาน ของโรงเรียนจำนวน 10 คน (2) pre test ก่อนอบรมเรื่องการคัดแยกขยะ (3) อบรมให้ความรู้การคัดแยกขยะ (4) สร้างจุดสาธิตการคัดแยกขยะในโรงเรียน (5) รณรงค์ BIG CLEANING DAY (6) ธนาคารขยะ (7) ประชุมคณะทำงานขับเคลื่อนการจัดการขยะทุก 2 เดือน (8) Pretest ก่อนอบรมเรื่องการคัดแยกขยะ (9) กิจกรรม Post test หลังอบรม รวมถึงประเมินความพึงพอใจหลังเข้าร่วมโครงการ (10) สรุปและประเมินผลโครงการ
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ควรมีการต่อยอดในการทำกิจกรรมธนาคารขยะ และหาวิทยากรมาฝึกอบรมการนำขยะมาแปรรูปเป็นสินค้า เช่น ไม้กวาดจากขวดพลาสติก
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ
แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ
ชื่อโครงการ โครงการจัดการขยะในโรงเรียนวัดบ้านสวน(คงวิทยาคาร) ปี 2567
รหัสโครงการ 67-L3325-2-3 รหัสสัญญา 3/2567 ระยะเวลาโครงการ 31 มกราคม 2567 - 31 สิงหาคม 2567
แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้
- ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
- การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
- การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
- ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
- กระบวนการชุมชน
- มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่
นักเรียนได้รับความรู้วิธีการคัดแยกขยะ สามารถแยกประเภทของขยะ รู้จักวิธีจัดการขยะ เช่น การนำขยะมารีไซเคิล การทำปุ๋ยหมัก การนำขยะมาแลกเปลี่ยนให้เกิดรายได้ และนักเรียนสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ในชีวิตประจำวันหรือบอกต่อบุคคลในครอบครัวได้
-สมุดบันทึกรายรับจากการจำหน่ายขยะของนักเรียน
-สมุดบันทึกการจำหน่ายขยะในโรงเรียนโดยสภานักเรียน
ปลูกฝังความคิดในการจัดการขยะ สร้างทักษะชีวิต
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่
นักเรียนรู้จักคัดแยกขยะ สามารถนำขยะไปใส่ในถังขยะสีที่แบ่งประเภทของขยะได้ถูกต้อง
-ภาพถ่าย
นำขยะไปคัดแยกได้ถูกต้อง
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่
นักเรียนจัดตั้งชมรมธนาคารขยะ โดยมีสภานักเรียนเป็นแกนนำในการดำเนินกิจกรรม
นักเรียนมีจิตสำนึกในการคัดแยกขยะ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
99. อื่นๆ
2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. การบริโภค
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน
นักเรียนนำความรู้จากการคัดแยกขยะไปขยายให้กับบุคคลในครอบครัว และชุมชน
ขยะในครัวเรือน และชุมชนลดลง
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
9. อื่นๆ
3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ
มีการจัดให้ความรู้การคัดแยกขยะ จัดทำตะแกรงแยกขยะประเภทขวดแก้วและขวดพลาสติก จัดซื้อถังขยะ 4 สี สำหรับคัดแยกขยะ
นักเรียนรู้จักคัดแยกขยะแต่ละประเภทได้ถูกวิธี
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้
นักเรียนคัดแยกขยะภายในโรงเรียน และให้นักเรียนนำขยะประเภทขวดพลาสติก กระดาษจากที่บ้าน มาขายโดยโรงเรียนติดต่อให้พ่อค้ามารับซื้อที่โรงเรียน ซึ่งจะมีสภานักเรียนจดบันทึกรายได้ของแต่ละคน
ทำให้รู้จักคุณค่าที่ได้จากการคัดขยะ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. อื่นๆ
4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ
5. เกิดกระบวนการชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน
นักเรียนนำความรู้ที่ได้ไปขยายบอกต่อให้กับสมาชิกในครอบครัวและชุมชน
สมาชิกในครอบครัวได้รับความรู้และนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
7. อื่นๆ
6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน
นักเรียนมีจิตสำนึกความภูมิใจที่มีส่วนร่วมในการรักษาสิ่งแวดล้อมและสร้างรายได้ให้กับตนเอง
มีรายได้เสริมระหว่างเรียน ลดภาระให้กับผู้ปกครอง
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
6. อื่นๆ
ชื่อโครงการ โครงการจัดการขยะในโรงเรียนวัดบ้านสวน(คงวิทยาคาร) ปี 2567
รหัสโครงการ 67-L3325-2-3 รหัสสัญญา 3/2567 ระยะเวลาโครงการ 31 มกราคม 2567 - 31 สิงหาคม 2567
แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้
- ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
- การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
- การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
- ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
- กระบวนการชุมชน
- มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
---|---|---|---|---|---|
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน |
|||||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่ | นักเรียนได้รับความรู้วิธีการคัดแยกขยะ สามารถแยกประเภทของขยะ รู้จักวิธีจัดการขยะ เช่น การนำขยะมารีไซเคิล การทำปุ๋ยหมัก การนำขยะมาแลกเปลี่ยนให้เกิดรายได้ และนักเรียนสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ในชีวิตประจำวันหรือบอกต่อบุคคลในครอบครัวได้ |
-สมุดบันทึกรายรับจากการจำหน่ายขยะของนักเรียน -สมุดบันทึกการจำหน่ายขยะในโรงเรียนโดยสภานักเรียน |
ปลูกฝังความคิดในการจัดการขยะ สร้างทักษะชีวิต |
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่ |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
3. กระบวนการใหม่ |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่ | นักเรียนรู้จักคัดแยกขยะ สามารถนำขยะไปใส่ในถังขยะสีที่แบ่งประเภทของขยะได้ถูกต้อง |
-ภาพถ่าย |
นำขยะไปคัดแยกได้ถูกต้อง |
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่ | นักเรียนจัดตั้งชมรมธนาคารขยะ โดยมีสภานักเรียนเป็นแกนนำในการดำเนินกิจกรรม |
|
นักเรียนมีจิตสำนึกในการคัดแยกขยะ |
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่ |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
99. อื่นๆ |
|
|
|
||
2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ |
|||||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
2. การบริโภค |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
3. การออกกำลังกาย |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่ |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน | นักเรียนนำความรู้จากการคัดแยกขยะไปขยายให้กับบุคคลในครอบครัว และชุมชน |
|
ขยะในครัวเรือน และชุมชนลดลง |
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
9. อื่นๆ |
|
|
|
||
3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ) |
|||||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ | มีการจัดให้ความรู้การคัดแยกขยะ จัดทำตะแกรงแยกขยะประเภทขวดแก้วและขวดพลาสติก จัดซื้อถังขยะ 4 สี สำหรับคัดแยกขยะ |
|
นักเรียนรู้จักคัดแยกขยะแต่ละประเภทได้ถูกวิธี |
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้ | นักเรียนคัดแยกขยะภายในโรงเรียน และให้นักเรียนนำขยะประเภทขวดพลาสติก กระดาษจากที่บ้าน มาขายโดยโรงเรียนติดต่อให้พ่อค้ามารับซื้อที่โรงเรียน ซึ่งจะมีสภานักเรียนจดบันทึกรายได้ของแต่ละคน |
|
ทำให้รู้จักคุณค่าที่ได้จากการคัดขยะ |
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
5. อื่นๆ |
|
|
|
||
4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ |
|||||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
3. มีธรรมนูญของชุมชน |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ |
|
|
|
||
5. เกิดกระบวนการชุมชน |
|||||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน) |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน) |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน | นักเรียนนำความรู้ที่ได้ไปขยายบอกต่อให้กับสมาชิกในครอบครัวและชุมชน |
|
สมาชิกในครอบครัวได้รับความรู้และนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน |
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
7. อื่นๆ |
|
|
|
||
6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ |
|||||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน | นักเรียนมีจิตสำนึกความภูมิใจที่มีส่วนร่วมในการรักษาสิ่งแวดล้อมและสร้างรายได้ให้กับตนเอง |
|
มีรายได้เสริมระหว่างเรียน ลดภาระให้กับผู้ปกครอง |
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
6. อื่นๆ |
|
|
|
||
โครงการจัดการขยะในโรงเรียนวัดบ้านสวน(คงวิทยาคาร) ปี 2567 จังหวัด
รหัสโครงการ 67-L3325-2-3
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางอำพร บัวขาว )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......