กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.วังมะปรางเหนือ


“ โครงการพัฒนาศักยภาพ อสม.น้อย เพื่อควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออก ตำบลวังมะปรางเหนือ อำเภอวังวิเศษ จังหวัดตรัง ปีงบประมาณ 2567 ”

ตำบลวังมะปรางเหนือ อำเภอวังวิเศษ จังหวัดตรัง

หัวหน้าโครงการ
นายสถาพร อาจมังกร

ชื่อโครงการ โครงการพัฒนาศักยภาพ อสม.น้อย เพื่อควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออก ตำบลวังมะปรางเหนือ อำเภอวังวิเศษ จังหวัดตรัง ปีงบประมาณ 2567

ที่อยู่ ตำบลวังมะปรางเหนือ อำเภอวังวิเศษ จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 67 - L1519 - 1 - 3 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการพัฒนาศักยภาพ อสม.น้อย เพื่อควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออก ตำบลวังมะปรางเหนือ อำเภอวังวิเศษ จังหวัดตรัง ปีงบประมาณ 2567 จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลวังมะปรางเหนือ อำเภอวังวิเศษ จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.วังมะปรางเหนือ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการพัฒนาศักยภาพ อสม.น้อย เพื่อควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออก ตำบลวังมะปรางเหนือ อำเภอวังวิเศษ จังหวัดตรัง ปีงบประมาณ 2567



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการพัฒนาศักยภาพ อสม.น้อย เพื่อควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออก ตำบลวังมะปรางเหนือ อำเภอวังวิเศษ จังหวัดตรัง ปีงบประมาณ 2567 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลวังมะปรางเหนือ อำเภอวังวิเศษ จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 67 - L1519 - 1 - 3 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 19,640.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.วังมะปรางเหนือ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ไข้เลือดออก (Dengue Hemorrhagic Fever) หมายถึง โรคที่มีอาการไข้ ปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ มีจุดเลือดออกเกิดจากการติดเชื้อไวรัสเดงกี่ (Dengue virus) ทำให้เกิดความผิดปกติของหลอดเลือดฝอย น้ำเลือดซึมออกมานอกหลอดเลือด ทำให้ปริมาฯน้ำเลือดลดลง เกิดความไม่สมดุลของปริมาณสารน้ำในร่างกาย และอาจเกิดภาวะช็อค (Hypovolemic shock) ร่วมกับอาการที่เกิดจากเชื้อเดงกี่จะทำลายเกล็ดเลือด เกิดภาวะเกล็ดเลือดต่ำ มีเลือดออกตามอวัยวะต่างๆ ของร่างกายได้ง่าย โดยผู้ป่วยจะมีจุดเลือดตามแขนตามขา และอาจจะมีอาการอาเจียนร่วมด้วย รวมทั้งอุจจาระมีเลือดออก (จรวย สุวรรณบำรุง ,2560) จากสถานการณ์โดยรวมของไข้เลือดออก ปี 2566 พบว่ามีการระบาดของโรคไข้เลือดออกทั่วทุกภูมิภาคของประเทศไทย มีรายงานผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกสะสมตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2566 ถึง วันที่ 30 กันยายน 2566 (ข้อมูลจากระบบรายงานการเฝ้าระวังโรค 506 กองระบาดวิทยา) ประเทศไทย มีรายงานผู้ป่วยโรคไข้เลือดออก (Dengue fever : DF ,Dengue hemorrhagic fever : DHF ,Dengue shock syndrome : DSS) สะสมรวม 106,548 ราย คิดเป็นอัตราป่วย 161.02 ต่อประชากรแสนคน มีรายงานผู้ป่วยเสียชีวิต จำนวน 102 ราย คิดเป็น อัตราตาย 0.15 ต่อประชากรแสนคน อัตราป่วยตาย ร้อยละ 0.10 พบมากสุดในกลุ่มอายุ 15 - 24 ปี (22.59%) รองลงมากลุ่มอายุ 10 - 14 ปี (20.67%) พบมากในกลุ่มอาชีพนักเรียน ร้อยละ 47.40 รองลงมาอาชีพรับจ้าง ร้อยละ 19.80 สถานการณ์ผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกเขต 12 รายงานผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกสะสมตั้งแต่วันที่ วันที่ 1 มกราคม 2566 ถึง วันที่ 30 กันยายน 2566 พบผู้ป่วย 10,630 ราย คิดเป็นอัตราป่วย 212.99 ต่อประชากรแสนคน มีรายงานผู้ป่วยเสียชีวิต จำนวน 16 ราย (จังหวัดนราธิวาส 2 ราย จังหวัดปัตตานี จำนวน 2 ราย จังหวัดสงขลา 5 ราย ,ตรัง 2 ราย สตูล 3 ราย ,พัทลุง 1 รายและยะลา 1 ราย) คิดเป็นอัตราตาย 0.32 ต่อประชากรแสนคน อัตราป่วยตายร้อยละ 0.15 และจังหวัดตรัง 115.48 ต่อประชากรแสนคน (737 ราย) จัดอยู่ในลำดับ 49 ของประเทศ ( ที่มา : ข้อมูลจากระบบรายงานการเฝ้าระวังโรค 506 กองระบาดวิทยา ณ วันที่ 30 กันยายน 2566 )     รายงานสถานการณ์การเฝ้าระวังโรคไข้เลือดออก ในจังหวัดตรัง ในสัปดาห์ที่ 39 ข้อมูล ณ วันที่ 30 กันยายน 2566 กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดตรัง ได้รับรายงานผู้ป่วยโรคไข้เลือดออก จาก 10 อำเภอในจังหวัดตรัง พบผู้ป่วย จำนวน 737 ราย คิดเป็นอัตราป่วย 115.48 ต่อประชากรแสนคน พบผู้เสียชีวิต จำนวน 2 ราย (อำเภอห้วยยอด 1 ราย,อำเภอย่านตาขาว 1 ราย) คิดเป็น อัตราตาย 0.31 ต่อประชากรแสนคน อัตราป่วยตาย ร้อยละ 0.27 อำเภอที่มีอัตราป่วยสูงสุด คือ อำเภอวังวิเศษ จำนวน 128 ราย คิดเป็นอัตราป่วย 294.19 ต่อประชากรแสนคน รองลงมา คือ อำเภอสิเกา จำนวน 73 รายคิดเป็นอัตราป่วย 189.97 ต่อประชากรแสนคน และ อำเภอหาดสำราญ จำนวน 29 ราย คิดเป็นอัตราป่วย 171.89 ต่อประชากรแสนคน (สำนักระบาดวิทยา , 2566)     รายงานสถานการณ์ผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกของอำเภอวังวิเศษ จังหวัดตรัง สะสมตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2566 ถึงวันที่ 30 กันยายน 2566 ได้รับรายงานผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกจำนวนทั้งสิ้น 128ราย พบว่า ตำบลที่มีอัตราป่วยต่อประชากรแสนคนสูงสุด คือ ตำบลอ่าวตง มีอัตราป่วยเท่ากับ 521.95 ต่อประชากรแสนคน รองลงมา คือ ตำบลวังมะปรางเหนือ, ตำบลเขาวิเศษ, ตำบลท่าสะบ้า และตำบลวังมะปราง โดยมีอัตราป่วยเท่ากับ 311.67, 208.13, 184.23 และ 141.12 ต่อ ประชากรแสนคน ตามลำดับ คิดเป็นอัตราป่วย 294.19 ต่อประชากรแสนคน ไม่มีรายงานผู้ป่วยเสียชีวิต โดยพบผู้ป่วยส่วนใหญ่อยู่ในกลุ่มอายุ 15 - 24 ปี โดยมีจำนวนผู้ป่วยเท่ากับ 28 ราย (ร้อยละ 21.88) รองลงมาคือ กลุ่มอายุ 10 - 14 ปี (27 ราย คิดเป็นร้อยละ 21.09) และอายุ5 - 9 ปี(24 ราย คิดเป็นร้อยละ 18.75) ตามลำดับ อาชีพที่มีจำนวนผู้ป่วยสูงสุด คือ ในปกครองหรือไม่มีงานทำ จำนวนผู้ป่วยเท่ากับ 50 ราย (คิดเป็นร้อยละ 39.06) รองลงมาคือ อาชีพนักเรียน (38 ราย คิดเป็นร้อยละ 29.69) และอาชีพเกษตร (23 ราย คิดเป็นร้อยละ 17.97) ตามลำดับ (สำนักระบาดวิทยา , 2566)     จากปัญหาและสถานการณ์ดังกล่าวกลุ่มงานบริการปฐมภูมิและองค์รวม โรงพยาบาลวังวิเศษได้เล็งเห็นความสำคัญของการเฝ้าระวังควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออก โดยการสร้างแกนนำอาสาสมัครในกลุ่มนักเรียนและบุคลากรในโรงเรียนในเขตรับผิดชอบของ อบต.วังมะปรางเหนือ สามารถขับเคลื่อนครอบครัวและชุมชนในการจัดการและแก้ไขปัญหาโรคไข้เลือดออก จึงได้จัดทำโครงการพัฒนาศักยภาพ อสม.น้อยเพื่อควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออก ตำบลวังมะปรางเหนือ อำเภอวังวิเศษ จังหวัดตรังขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ ความเข้าใจในเรื่องโรคไข้เลือดออก การควบคุมและป้องกันโรค
  2. กลุ่มเป้าหมายสามารถสำรวจและกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย ซึ่งเป็นสาเหตุสำคัญของโรคไข้เลือดออกอย่างถูกต้องและเหมาะสม
  3. กลุ่มเป้าหมายสามารถคำนวณดัชนีลูกน้ำยุงลาย (HI,CI) ได้เบื้องต้น

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 100
    กลุ่มวัยทำงาน 10
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

     


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ ความเข้าใจในเรื่องโรคไข้เลือดออก การควบคุมและป้องกันโรค
    ตัวชี้วัด : กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ในเรื่องโรคไข้เลือดออก การควบคุมและป้องกันโรค
    80.00

     

    2 กลุ่มเป้าหมายสามารถสำรวจและกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย ซึ่งเป็นสาเหตุสำคัญของโรคไข้เลือดออกอย่างถูกต้องและเหมาะสม
    ตัวชี้วัด : กลุ่มเป้าหมายสามารถสำรวจและกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย ซึ่งเป็นสาเหตุสำคัญของโรคไข้เลือดออกอย่างถูกต้องและเหมาะสม
    80.00

     

    3 กลุ่มเป้าหมายสามารถคำนวณดัชนีลูกน้ำยุงลาย (HI,CI) ได้เบื้องต้น
    ตัวชี้วัด : กลุ่มเป้าหมายสามารถคำนวณดัชนีลูกน้ำยุงลาย (HI,CI) ได้เบื้องต้น
    80.00

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 110
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 100
    กลุ่มวัยทำงาน 10
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ ความเข้าใจในเรื่องโรคไข้เลือดออก การควบคุมและป้องกันโรค (2) กลุ่มเป้าหมายสามารถสำรวจและกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย ซึ่งเป็นสาเหตุสำคัญของโรคไข้เลือดออกอย่างถูกต้องและเหมาะสม (3) กลุ่มเป้าหมายสามารถคำนวณดัชนีลูกน้ำยุงลาย (HI,CI) ได้เบื้องต้น

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการพัฒนาศักยภาพ อสม.น้อย เพื่อควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออก ตำบลวังมะปรางเหนือ อำเภอวังวิเศษ จังหวัดตรัง ปีงบประมาณ 2567 จังหวัด ตรัง

    รหัสโครงการ 67 - L1519 - 1 - 3

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นายสถาพร อาจมังกร )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด