กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลมะกรูด


“ โครงการแก้ปัญหาภาวะโรคไข้เลือดออกระบาด ตำบลมะกรูด ปีงบประมาณ 2567 ”

ตำบลมะกรูด อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นางสาวสุรัยณี เจ๊ะบือราเฮง

ชื่อโครงการ โครงการแก้ปัญหาภาวะโรคไข้เลือดออกระบาด ตำบลมะกรูด ปีงบประมาณ 2567

ที่อยู่ ตำบลมะกรูด อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 67 - L2985 – 05 - 02 เลขที่ข้อตกลง 02/2567

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ธันวาคม 2566 ถึง 31 มีนาคม 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการแก้ปัญหาภาวะโรคไข้เลือดออกระบาด ตำบลมะกรูด ปีงบประมาณ 2567 จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลมะกรูด อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลมะกรูด ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการแก้ปัญหาภาวะโรคไข้เลือดออกระบาด ตำบลมะกรูด ปีงบประมาณ 2567



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการแก้ปัญหาภาวะโรคไข้เลือดออกระบาด ตำบลมะกรูด ปีงบประมาณ 2567 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลมะกรูด อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 67 - L2985 – 05 - 02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ธันวาคม 2566 - 31 มีนาคม 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 65,850.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลมะกรูด เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคไข้เลือดออก เป็นปัญหาด้านสาธารณสุขที่สำคัญ ซึ่งความรุนแรงของโรคสามารถทำให้ผู้ป่วยเสียชีวิตได้ แม้จะมีการรณรงค์ให้มีการป้องกัน ควบคุม ไม่ให้มีการแพร่ระบาดของโรค ของภาครัฐและชุมชนอยู่เป็นประจำ แต่ก็ไม่สามารถทำให้โรคนี้หมดไปจากสังคมไทยได้เลย การรณรงค์ให้ประชาชนร่วมกันกำจัดยุงลาย โดยการทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายเป็นอีกวิธีหนึ่งที่ช่วยยับยั้งการแพร่ระบาดของโรคได้ ไม่ว่าจะเป็นการทำลายภาชนะที่มีน้ำขัง การใส่ทรายกำจัดลูกน้ำ หรือการพ่นหมอกควันกรณีพบผู้ป่วย โรคไข้เลือดออกมักระบาดในช่วงหน้าฝนเพราะพาหะของโรค คือ ยุงลาย ลักษณะที่อยู่อาศัยของยุงลาย พบมากตามบ้านที่อยู่อาศัย ในสวน มีการขยายพันธุ์โดยวางไข่ในน้ำนิ่ง พบบ่อยในภาชนะน้ำขัง เช่น  โอ่งน้ำ แจกันดอกไม้ ยางรถยนต์เก่า หรือเศษวัสดุที่รองรับน้ำได้ทุกชนิด
      จากการรายงานสอบสวนโรคไข้เลือดออก พื้นที่ตำบลมะกรูด ตั้งแต่เดือนตุลาคม - พฤศจิกายน 2566 พบผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกจำนวน 15 ราย ซึ่งพื้นที่ที่มีการระบาดของโรค ได้แก่ หมู่ที่ 5 ตำบลมะกรูด และโรงเรียนจิปิภพพิทยา หมู่ที่ 3 โดยพบผู้ป่วยต่อเนื่องทุกสัปดาห์ จึงจำเป็นต้องมีการป้องกัน และควบคุมโรคให้รวดเร็ว ทันต่อสภาวการณ์แพร่ระบาดของโรค และการตัดวงจรการแพร่เชื้อโรคจากยุงที่อาจมีเชื้อและนำไปสู่คนอื่นต่อไป
      ดังนั้นเพื่อความรวดเร็วและมีประสิทธิภาพในการควบคุมโรคไข้เลือดออกได้อย่างทันท่วงที งานสาธารณสุข สำนักปลัด เทศบาลตำบลมะกรูด จึงได้จัดทำโครงการแก้ปัญหาภาวะโรคไข้เลือดออกระบาด ตำบลมะกรูด ปีงบประมาณ 2567 เพื่อเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคไข้เลือดออกไม่ให้เกิดการระบาดต่อเนื่องในพื้นที่เพิ่มขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อลดอัตราการป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกในพื้นที่
  2. เพื่อป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกในพื้นที่
  3. เพื่อกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย และกำจัดลูกน้ำยุงลาย

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมสำรวจและทำลายลูกน้ำยุงลาย
  2. กิจกรรมป้องกัน และควบคุมการระบาดโรคไข้เลือดออก

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 50
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ลดการระบาดของโรคไม่ให้ขยายไปในวงกว้าง
  2. ครัวเรือนที่มีการระบาดจากโรคไข้เลือดออก ได้รับการควบคุมโรค
  3. มีครุภัณฑ์ เคมีภัณฑ์ เพื่อใช้ในการป้องกันและควบคุมโรคภายในชุมชนอย่างเพียงพอ
  4. ค่า HI เป็น 0 , ค่า CI เป็น 0

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมป้องกัน และควบคุมการระบาดโรคไข้เลือดออก

วันที่ 1 ธันวาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

1.จัดหาครุภัณฑ์ เคมีภัณฑ์เพื่อใช้ในการป้องกัน และควบคุมโรคไข้เลือดออก 2. การพ่นหมอกควัน เพื่อควบคุมการระบาดโรคไข้เลือดออก

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

2.1 จัดหาครุภัณฑ์ เคมีภัณฑ์เพื่อใช้ในการป้องกัน และควบคุมโรคไข้เลือดออก ได้แก่ สเปร์ยกำจัดยุง โลชั่นทากันยุง และเครื่องพ่นหมอกควัน 2.2 ดำเนินการพ่นหมอกควัน เพื่อควบคุมการระบาดโรคไข้เลือดออก พร้อมจ่ายสเปร์ยกำจัดยุง โลชั่นทากันยุง ซึ่งพบผู้ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก จำนวน 9 ราย

 

50 0

2. กิจกรรมสำรวจและทำลายลูกน้ำยุงลาย

วันที่ 1 ธันวาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

1.1 ลงสำรวจทำลายลูกน้ำยุงลาย (หยอดทรายอะเบต, คว่ำภาชนะที่มีน้ำขัง) ในพื้นที่ระบาด
1.2 ปรับสภาพแวดล้อมจุดเสี่ยงต่อการเพาะพันธุ์ยุงลาย โดย แกนนำสาธารณสุข (อสม.)

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.1 ลงสำรวจทำลายลูกน้ำยุงลาย (หยอดทรายอะเบต, คว่ำภาชนะที่มีน้ำขัง) ในพื้นที่ระบาด
1.2 ปรับสภาพแวดล้อมจุดเสี่ยงต่อการเพาะพันธุ์ยุงลาย โดย แกนนำสาธารณสุข (อสม.)

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

1.1 อัตราการป่วยโรคไข้เลือดออก 0.15 ต่อแสนประชากร 1.2 พื้นที่ที่มีการระบาดของโรคไข้เลือดออกได้รับการควบคุมทันเวลาตามมาตรการ ร้อยละ 100 1.3 ค่า HI เป็น 17.65 และ ค่า CI เป็น 35.71 กิจกรรม : 1. กิจกรรมสำรวจและทำลายลูกน้ำยุงลาย         1.1 ลงสำรวจทำลายลูกน้ำยุงลาย (หยอดทรายอะเบต, คว่ำภาชนะที่มีน้ำขัง) ในพื้นที่ระบาด
        1.2 ปรับสภาพแวดล้อมจุดเสี่ยงต่อการเพาะพันธุ์ยุงลาย โดย แกนนำสาธารณสุข (อสม.)
      2. กิจกรรมป้องกัน และควบคุมการระบาดโรคไข้เลือดออก         2.1 จัดหาครุภัณฑ์ เคมีภัณฑ์เพื่อใช้ในการป้องกัน และควบคุมโรคไข้เลือดออก ได้แก่ สเปร์ยกำจัดยุง โลชั่นทากันยุง และเครื่องพ่นหมอกควัน         2.2 ดำเนินการพ่นหมอกควัน เพื่อควบคุมการระบาดโรคไข้เลือดออก พร้อมจ่ายสเปร์ยกำจัดยุง โลชั่นทากันยุง ซึ่งพบผู้ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก จำนวน 9 ราย
ระยะเวลาการดำเนินการ : 1 ธันวาคม พ.ศ. 2566 - 31 มีนาคม พ.ศ. 2567 กลุ่มเป้าหมาย ; กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยงตำบลมะกรูด สถานที่ดำเนินการ : พื้นที่ หมู่ที่ 1 – 7 ตำบลมะกรูด

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อลดอัตราการป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกในพื้นที่
ตัวชี้วัด : อัตราการป่วยโรคไข้เลือดออก ไม่เกิน 50 ต่อแสนประชากร
0.15

 

2 เพื่อป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกในพื้นที่
ตัวชี้วัด : พื้นที่ที่มีการระบาดของโรคไข้เลือดออกได้รับการควบคุมทันเวลาตามมาตรการ
100.00 100.00

 

3 เพื่อกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย และกำจัดลูกน้ำยุงลาย
ตัวชี้วัด : ค่า HI เป็น 0 , ค่า CI เป็น 0
17.65

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 50 9
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 50 9
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อลดอัตราการป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกในพื้นที่ (2) เพื่อป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกในพื้นที่ (3) เพื่อกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย  และกำจัดลูกน้ำยุงลาย

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมสำรวจและทำลายลูกน้ำยุงลาย (2) กิจกรรมป้องกัน และควบคุมการระบาดโรคไข้เลือดออก

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการแก้ปัญหาภาวะโรคไข้เลือดออกระบาด ตำบลมะกรูด ปีงบประมาณ 2567 จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 67 - L2985 – 05 - 02

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวสุรัยณี เจ๊ะบือราเฮง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด