โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในกลุ่มสงสัยเป็นป่วยความดันโลหิตสูง,เบาหวาน ในคลินิก DPAC / Wellness Center ศูนย์แพทย์ชุมชนดอนยอ ปี 2567
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในกลุ่มสงสัยเป็นป่วยความดันโลหิตสูง,เบาหวาน ในคลินิก DPAC / Wellness Center ศูนย์แพทย์ชุมชนดอนยอ ปี 2567 ”
หัวหน้าโครงการ
นางสาวทัตพิชา รอดรักษ์
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองพัทลุง
สิงหาคม 2567
ชื่อโครงการ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในกลุ่มสงสัยเป็นป่วยความดันโลหิตสูง,เบาหวาน ในคลินิก DPAC / Wellness Center ศูนย์แพทย์ชุมชนดอนยอ ปี 2567
ที่อยู่ จังหวัด
รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กุมภาพันธ์ 2567 ถึง 31 สิงหาคม 2567
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในกลุ่มสงสัยเป็นป่วยความดันโลหิตสูง,เบาหวาน ในคลินิก DPAC / Wellness Center ศูนย์แพทย์ชุมชนดอนยอ ปี 2567 จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองพัทลุง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในกลุ่มสงสัยเป็นป่วยความดันโลหิตสูง,เบาหวาน ในคลินิก DPAC / Wellness Center ศูนย์แพทย์ชุมชนดอนยอ ปี 2567
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในกลุ่มสงสัยเป็นป่วยความดันโลหิตสูง,เบาหวาน ในคลินิก DPAC / Wellness Center ศูนย์แพทย์ชุมชนดอนยอ ปี 2567 " ดำเนินการในพื้นที่ รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กุมภาพันธ์ 2567 - 31 สิงหาคม 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 6,800.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองพัทลุง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้กลุ่มสงสัยป่วยมีความรู้และมีพฤติกรรมที่เหมาะสมในการป้องกันโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน
- เพื่อให้กลุ่มสงสัยป่วยโรคความดันโลหิตสูง มีค่าความดันโลหิตลดลง
- เพื่อให้กลุ่มสงสัยป่วยโรคเบาหวาน มีค่าน้ำตาลในเลือดลดลง
- กลุ่มสงสัยป่วยเป็นโรคความดันโลหิตสูงโรคเบาหวาน ได้รับการส่งต่อเพื่อการวินิจฉัยตามเกณฑ์
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ประชุมคณะทำงานร่วมกันออกแบบกิจกรรมตามแผนงาน
- ประเมินองค์ประกอบมวลกายและตรวจสุขภาพ
- จัดอบรมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
- กิจกรรมติดตามผลหลังการอบรมครั้งที่ 1 (หลังอบรม 1 เดือน)
- กิจกรรมติดตามผลหลังการอบรม ครั้งที่ 2 (หลังอบรม 3 เดือน)
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
กลุ่มสงสัยป่วยเบาหวานและกลุ่มสงสัยป่วยความดันโลหิต
50
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- กลุ่มสงสัยป่วยโรคความดันโลหิตสูง, เบาหวาน สามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพดีขึ้น
- กลุ่มสงสัยป่วยโรคความดัน มีค่าความดันโลหิตลดลง ไม่เป็นโรค
- กลุ่มสงสัยป่วยโรคเบาหวาน มีค่าระดับน้ำตาลในเลือดลดลง ไม่เป็นโรค
- กลุ่มสงสัยป่วยโรคความดันโลหิตสูง, เบาหวาน ได้รับการส่งต่อเพื่อการวินิจฉัยและรักษาตามเกณฑ์
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. ประชุมคณะทำงานร่วมกันออกแบบกิจกรรมตามแผนงาน
วันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2567 เวลา 08:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ประชุมคณะทำงานร่วมกันออกแบบกิจกรรมตามแผนงาน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
อสม. แกนนำชุมชนและเจ้าหน้าที่ประจำชุมชน มีความรู้ ความเข้าใจ ในการดำเนินกิจกรรมตามโครงการ และได้ออกแบบกิจกรรมร่วมกัน
0
0
2. ประเมินองค์ประกอบมวลกายและตรวจสุขภาพ
วันที่ 3 พฤษภาคม 2567 เวลา 08:00 น.กิจกรรมที่ทำ
กลุ่มเป้าหมายเข้ารับการตรวจประเมินองค์ประกอบมวลกาย เช่น ชั่งน้ำหนัก วัดความสูง วัดรอบเอว ประเมินดัชนีมวลกาย ตรวจระดับน้ำตาลในเลือด และประเมินองค์ประกอบมวลกาย
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
กลุ่มเป้าหมายได้ทราบข้อมูลพื้นฐานของร่างกายเพื่อนำไปใช้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่ดีต่อไป จำนวน 50 คน
0
0
3. จัดอบรมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
วันที่ 3 พฤษภาคม 2567 เวลา 08:00 น.กิจกรรมที่ทำ
จัดอบรมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม แก่กลุ่มสงสัยป่วยความดันโลหิตสูง และสงสัยป่วยโรคเบาหวาน จำนวน 50 คน วิทยากรโดย คุณนันทิยา พานิชายุนนท์ พยาบาลวิชาชีพ ศูนย์แพทย์ชุมชนดอนยอ คุณนิสรัตน์ อินมณเฑียร กลุ่มงานโภชนศาสตร์ และคุณอดิศร ชุมคช กลุ่มงานสุขศึกษา รพ.พัทลุง
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
กลุ่มสงสัยป่วยโรคความดันโลหิตสูง, โรคเบาหวาน มีความรู้และมีพฤติกรรมด้านอาหาร อารมณ์ ออกกำลังกาย ดีขึ้น ทุกคน คิดเป็นจำนวน 50 คน
50
0
4. กิจกรรมติดตามผลหลังการอบรมครั้งที่ 1 (หลังอบรม 1 เดือน)
วันที่ 7 มิถุนายน 2567 เวลา 08:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ติดตามพฤติกรรม และติดตามประเมินองค์ประกอบมวลกาย
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- กลุ่มเป้าหมายมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมด้านอาหาร อารมณ์ ออกกำลังกาย ดีขึ้น อย่างน้อย ร้อยละ 70
- กลุ่มเป้าหมายมีค่าความดันโลหิต มีค่าระดับน้ำตาลในเลือด ดัชนีมวลกาย ลดลง อย่างน้อย ร้อยละ 20
- กลุ่มเป้าหมายที่มีความเสี่ยงสูง ได้รับการส่งต่อคลินิก wellness Center (ศูนย์สุขภาพดี) อย่างน้อย ร้อยละ 90
- กลุ่มสงสัยป่วยเป็นโรคได้รับการส่งต่อและรักษาตามเกณฑ์ ร้อยละ 100
ดังมีรายละเอียดสรุปผลหลังการอบรมครั้งที่ 3 (หลังอบรม 3 เดือนและสิ้นสุดโครงการ)
0
0
5. กิจกรรมติดตามผลหลังการอบรม ครั้งที่ 2 (หลังอบรม 3 เดือน)
วันที่ 2 สิงหาคม 2567 เวลา 08:00 น.กิจกรรมที่ทำ
กิจกรรมติดตามผลหลังการอบรม 3 เดือน ครั้งที่ 2
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- กลุ่มเป้าหมายมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมด้านอาหาร อารมณ์ ออกกำลังกาย ดีขึ้น ดังนี้
เมื่อติดตามผลหลังการอบรม 3 เดือน และสิ้นสุดโครงการ ในกลุ่มสงสัยป่วยความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน โดยติดตามพฤติกรรม /ประเมินผลการตรวจสุขภาพ โดยแพทย์ประจำศูนย์แพทย์ดอนยอ พบว่า
กลุ่มสงสัยป่วยความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานมีพฤติกรรมด้านสุขภาพดีขึ้น โดยในระดับดีมาก 0 คน คิดเป็นร้อยละ 0 , มีพฤติกรรมด้านสุขภาพในระดับดี 31 คน คิดเป็นร้อยละ 66, มีพฤติกรรมด้านสุขภาพในระดับปานกลาง 17 คน คิดเป็น ร้อยละ 34 และควรปรับเปลี่ยนพฤติกรรมให้ดีขึ้น จำนวน 2 คนคิดเป็นร้อยละ 4 ดังตารางที่ 1
ตารางที่ 1 แสดงระดับพฤติกรรมสุขภาพ ก่อนและหลังเข้าร่วมโครงการ
ระดับพฤติกรรมสุขภาพ ก่อนเข้าร่วมโครงการ ดี 2 คน ร้อยละ 4 ปานกลาง 30 คน ร้อยละ 60 ควรปรับเปลี่ยนพฤติกรรมให้ดีขึ้น 18 คน ร้อยละ 36
หลังเข้าร่วมโครงการ ดี 33คน ร้อยละ 66 ปานกลาง 17 คน ร้อยละ 34
2. กลุ่มเป้าหมายมีค่าความดันโลหิต มีค่าระดับน้ำตาล ดัชนีมวลกาย ลดลง ดังนี้
กลุ่มสงสัยป่วยความดันโลหิตสูง มีระดับความดันโลหิตลดลง จำนวน 5 คน จากจำนวนกลุ่มสงสัยป่วยความดันโลหิตสูงที่เข้าร่วมโครงการทั้งหมด 30 คน คิดเป็นร้อยละ 16.67
กลุ่มสงสัยป่วยเบาหวาน มีระดับน้ำตาลในเลือดลดลง จำนวน 15 คน จากจำนวนกลุ่มสงสัยป่วยเบาหวานที่เข้าร่วมโครงการทั้งหมด 20 คน คิดเป็นร้อยละ 75 ดังตารางที่ 2
3. กลุ่มสงสัยป่วยเป็นโรคได้รับการส่งต่อและรักษาตามเกณฑ์ ร้อยละ 100
กลุ่มสงสัยป่วยความดันโลหิตสูงได้รับการการวินิจฉัยป่วยความดันโลหิตสูง จำนวน 25 คน คิดเป็นร้อยละ 83.33
กลุ่มสงสัยป่วยเบาหวาน ได้รับการการวินิจฉัยป่วยเบาหวาน จำนวน 5 คน คิดเป็นร้อยละ 25 ดังตารางที่ 2
ตารางที่ 2 แสดงผลประเมินผลการตรวจสุขภาพ และการติดตามยืนยันกลุ่มสงสัยป่วย
กลุ่มสงสัยป่วยความดันโลหิตสูง 30 คน ค่าความดันโลหิตลดลง 5 คน ร้อยละ 16.67 ได้รับการวินิจฉัยป่วยโรคความดันโลหิตสูง 25 คน ร้อยละ 83.33
กลุ่มสงสัยป่วยเบาหวาน 20 คน ค่าระดับน้ำตาลลดลง 15 คน ร้อยละ 75.00 ได้รับการวินิจฉัยป่วยโรคเบาหวาน 5 คน ร้อยละ 25.00
0
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อให้กลุ่มสงสัยป่วยมีความรู้และมีพฤติกรรมที่เหมาะสมในการป้องกันโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน
ตัวชี้วัด : จำนวนกลุ่มสงสัยป่วยโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน มีความรู้และสามารถปรับพฤติกรรมด้านอาหาร อารมณ์ ออกกำลังกาย ดีขึ้น อย่างน้อย ร้อยละ 70
0.00
50.00
50.00
2
เพื่อให้กลุ่มสงสัยป่วยโรคความดันโลหิตสูง มีค่าความดันโลหิตลดลง
ตัวชี้วัด : จำนวนกลุ่มสงสัยป่วยโรคความดันโลหิตสูง มีค่าความดันโลหิตลดลง อย่างน้อย ร้อยละ 20 (คิดเป็น 10 คน)
0.00
50.00
50.00
3
เพื่อให้กลุ่มสงสัยป่วยโรคเบาหวาน มีค่าน้ำตาลในเลือดลดลง
ตัวชี้วัด : จำนวนกลุ่มสงสัยป่วยโรคเบาหวาน มีค่าน้ำตาลในเลือดลดลง ร้อยละ 20 (คิดเป็น 10 คน)
0.00
50.00
50.00
4
กลุ่มสงสัยป่วยเป็นโรคความดันโลหิตสูงโรคเบาหวาน ได้รับการส่งต่อเพื่อการวินิจฉัยตามเกณฑ์
ตัวชี้วัด : จำนวนกลุ่มสงสัยป่วยเป็นโรคความดันโลหิตสูง, เบาหวาน ได้รับการส่งต่อเพื่อการวินิจฉัยตามเกณฑ์ ร้อยละ 100 (คิดเป็น 50 คน)
0.00
50.00
50.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
50
50
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
0
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
กลุ่มสงสัยป่วยเบาหวานและกลุ่มสงสัยป่วยความดันโลหิต
50
50
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้กลุ่มสงสัยป่วยมีความรู้และมีพฤติกรรมที่เหมาะสมในการป้องกันโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน (2) เพื่อให้กลุ่มสงสัยป่วยโรคความดันโลหิตสูง มีค่าความดันโลหิตลดลง (3) เพื่อให้กลุ่มสงสัยป่วยโรคเบาหวาน มีค่าน้ำตาลในเลือดลดลง (4) กลุ่มสงสัยป่วยเป็นโรคความดันโลหิตสูงโรคเบาหวาน ได้รับการส่งต่อเพื่อการวินิจฉัยตามเกณฑ์
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมคณะทำงานร่วมกันออกแบบกิจกรรมตามแผนงาน (2) ประเมินองค์ประกอบมวลกายและตรวจสุขภาพ (3) จัดอบรมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม (4) กิจกรรมติดตามผลหลังการอบรมครั้งที่ 1 (หลังอบรม 1 เดือน) (5) กิจกรรมติดตามผลหลังการอบรม ครั้งที่ 2 (หลังอบรม 3 เดือน)
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
กลุ่มสงสัยป่วยเดินบันไดขึ้นห้องประชุม ชั้น 2 ลำบาก
เป็นผู้สูงอายุและผู้ที่มีปัญหาข้อเข่าเสื่อม
จัดหาสถานที่จัดประชุมเป็นชั้น 1 เพื่ออำนวยความสะดวก ไม่ต้องขึ้นลงบันได
โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในกลุ่มสงสัยเป็นป่วยความดันโลหิตสูง,เบาหวาน ในคลินิก DPAC / Wellness Center ศูนย์แพทย์ชุมชนดอนยอ ปี 2567 จังหวัด
รหัสโครงการ
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางสาวทัตพิชา รอดรักษ์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในกลุ่มสงสัยเป็นป่วยความดันโลหิตสูง,เบาหวาน ในคลินิก DPAC / Wellness Center ศูนย์แพทย์ชุมชนดอนยอ ปี 2567 ”
หัวหน้าโครงการ
นางสาวทัตพิชา รอดรักษ์
สิงหาคม 2567
ที่อยู่ จังหวัด
รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กุมภาพันธ์ 2567 ถึง 31 สิงหาคม 2567
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในกลุ่มสงสัยเป็นป่วยความดันโลหิตสูง,เบาหวาน ในคลินิก DPAC / Wellness Center ศูนย์แพทย์ชุมชนดอนยอ ปี 2567 จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองพัทลุง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในกลุ่มสงสัยเป็นป่วยความดันโลหิตสูง,เบาหวาน ในคลินิก DPAC / Wellness Center ศูนย์แพทย์ชุมชนดอนยอ ปี 2567
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในกลุ่มสงสัยเป็นป่วยความดันโลหิตสูง,เบาหวาน ในคลินิก DPAC / Wellness Center ศูนย์แพทย์ชุมชนดอนยอ ปี 2567 " ดำเนินการในพื้นที่ รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กุมภาพันธ์ 2567 - 31 สิงหาคม 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 6,800.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองพัทลุง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้กลุ่มสงสัยป่วยมีความรู้และมีพฤติกรรมที่เหมาะสมในการป้องกันโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน
- เพื่อให้กลุ่มสงสัยป่วยโรคความดันโลหิตสูง มีค่าความดันโลหิตลดลง
- เพื่อให้กลุ่มสงสัยป่วยโรคเบาหวาน มีค่าน้ำตาลในเลือดลดลง
- กลุ่มสงสัยป่วยเป็นโรคความดันโลหิตสูงโรคเบาหวาน ได้รับการส่งต่อเพื่อการวินิจฉัยตามเกณฑ์
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ประชุมคณะทำงานร่วมกันออกแบบกิจกรรมตามแผนงาน
- ประเมินองค์ประกอบมวลกายและตรวจสุขภาพ
- จัดอบรมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
- กิจกรรมติดตามผลหลังการอบรมครั้งที่ 1 (หลังอบรม 1 เดือน)
- กิจกรรมติดตามผลหลังการอบรม ครั้งที่ 2 (หลังอบรม 3 เดือน)
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | ||
กลุ่มสงสัยป่วยเบาหวานและกลุ่มสงสัยป่วยความดันโลหิต | 50 |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- กลุ่มสงสัยป่วยโรคความดันโลหิตสูง, เบาหวาน สามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพดีขึ้น
- กลุ่มสงสัยป่วยโรคความดัน มีค่าความดันโลหิตลดลง ไม่เป็นโรค
- กลุ่มสงสัยป่วยโรคเบาหวาน มีค่าระดับน้ำตาลในเลือดลดลง ไม่เป็นโรค
- กลุ่มสงสัยป่วยโรคความดันโลหิตสูง, เบาหวาน ได้รับการส่งต่อเพื่อการวินิจฉัยและรักษาตามเกณฑ์
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. ประชุมคณะทำงานร่วมกันออกแบบกิจกรรมตามแผนงาน |
||
วันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2567 เวลา 08:00 น.กิจกรรมที่ทำประชุมคณะทำงานร่วมกันออกแบบกิจกรรมตามแผนงาน ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นอสม. แกนนำชุมชนและเจ้าหน้าที่ประจำชุมชน มีความรู้ ความเข้าใจ ในการดำเนินกิจกรรมตามโครงการ และได้ออกแบบกิจกรรมร่วมกัน
|
0 | 0 |
2. ประเมินองค์ประกอบมวลกายและตรวจสุขภาพ |
||
วันที่ 3 พฤษภาคม 2567 เวลา 08:00 น.กิจกรรมที่ทำกลุ่มเป้าหมายเข้ารับการตรวจประเมินองค์ประกอบมวลกาย เช่น ชั่งน้ำหนัก วัดความสูง วัดรอบเอว ประเมินดัชนีมวลกาย ตรวจระดับน้ำตาลในเลือด และประเมินองค์ประกอบมวลกาย ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นกลุ่มเป้าหมายได้ทราบข้อมูลพื้นฐานของร่างกายเพื่อนำไปใช้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่ดีต่อไป จำนวน 50 คน
|
0 | 0 |
3. จัดอบรมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม |
||
วันที่ 3 พฤษภาคม 2567 เวลา 08:00 น.กิจกรรมที่ทำจัดอบรมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม แก่กลุ่มสงสัยป่วยความดันโลหิตสูง และสงสัยป่วยโรคเบาหวาน จำนวน 50 คน วิทยากรโดย คุณนันทิยา พานิชายุนนท์ พยาบาลวิชาชีพ ศูนย์แพทย์ชุมชนดอนยอ คุณนิสรัตน์ อินมณเฑียร กลุ่มงานโภชนศาสตร์ และคุณอดิศร ชุมคช กลุ่มงานสุขศึกษา รพ.พัทลุง ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นกลุ่มสงสัยป่วยโรคความดันโลหิตสูง, โรคเบาหวาน มีความรู้และมีพฤติกรรมด้านอาหาร อารมณ์ ออกกำลังกาย ดีขึ้น ทุกคน คิดเป็นจำนวน 50 คน
|
50 | 0 |
4. กิจกรรมติดตามผลหลังการอบรมครั้งที่ 1 (หลังอบรม 1 เดือน) |
||
วันที่ 7 มิถุนายน 2567 เวลา 08:00 น.กิจกรรมที่ทำติดตามพฤติกรรม และติดตามประเมินองค์ประกอบมวลกาย ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
0 | 0 |
5. กิจกรรมติดตามผลหลังการอบรม ครั้งที่ 2 (หลังอบรม 3 เดือน) |
||
วันที่ 2 สิงหาคม 2567 เวลา 08:00 น.กิจกรรมที่ทำกิจกรรมติดตามผลหลังการอบรม 3 เดือน ครั้งที่ 2 ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ตารางที่ 1 แสดงระดับพฤติกรรมสุขภาพ ก่อนและหลังเข้าร่วมโครงการ
ระดับพฤติกรรมสุขภาพ ก่อนเข้าร่วมโครงการ ดี 2 คน ร้อยละ 4 ปานกลาง 30 คน ร้อยละ 60 ควรปรับเปลี่ยนพฤติกรรมให้ดีขึ้น 18 คน ร้อยละ 36
หลังเข้าร่วมโครงการ ดี 33คน ร้อยละ 66 ปานกลาง 17 คน ร้อยละ 34
2. กลุ่มเป้าหมายมีค่าความดันโลหิต มีค่าระดับน้ำตาล ดัชนีมวลกาย ลดลง ดังนี้
|
0 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อให้กลุ่มสงสัยป่วยมีความรู้และมีพฤติกรรมที่เหมาะสมในการป้องกันโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน ตัวชี้วัด : จำนวนกลุ่มสงสัยป่วยโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน มีความรู้และสามารถปรับพฤติกรรมด้านอาหาร อารมณ์ ออกกำลังกาย ดีขึ้น อย่างน้อย ร้อยละ 70 |
0.00 | 50.00 | 50.00 |
|
2 | เพื่อให้กลุ่มสงสัยป่วยโรคความดันโลหิตสูง มีค่าความดันโลหิตลดลง ตัวชี้วัด : จำนวนกลุ่มสงสัยป่วยโรคความดันโลหิตสูง มีค่าความดันโลหิตลดลง อย่างน้อย ร้อยละ 20 (คิดเป็น 10 คน) |
0.00 | 50.00 | 50.00 |
|
3 | เพื่อให้กลุ่มสงสัยป่วยโรคเบาหวาน มีค่าน้ำตาลในเลือดลดลง ตัวชี้วัด : จำนวนกลุ่มสงสัยป่วยโรคเบาหวาน มีค่าน้ำตาลในเลือดลดลง ร้อยละ 20 (คิดเป็น 10 คน) |
0.00 | 50.00 | 50.00 |
|
4 | กลุ่มสงสัยป่วยเป็นโรคความดันโลหิตสูงโรคเบาหวาน ได้รับการส่งต่อเพื่อการวินิจฉัยตามเกณฑ์ ตัวชี้วัด : จำนวนกลุ่มสงสัยป่วยเป็นโรคความดันโลหิตสูง, เบาหวาน ได้รับการส่งต่อเพื่อการวินิจฉัยตามเกณฑ์ ร้อยละ 100 (คิดเป็น 50 คน) |
0.00 | 50.00 | 50.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 50 | 50 | |
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | 0 | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - | ||
กลุ่มสงสัยป่วยเบาหวานและกลุ่มสงสัยป่วยความดันโลหิต | 50 | 50 |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้กลุ่มสงสัยป่วยมีความรู้และมีพฤติกรรมที่เหมาะสมในการป้องกันโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน (2) เพื่อให้กลุ่มสงสัยป่วยโรคความดันโลหิตสูง มีค่าความดันโลหิตลดลง (3) เพื่อให้กลุ่มสงสัยป่วยโรคเบาหวาน มีค่าน้ำตาลในเลือดลดลง (4) กลุ่มสงสัยป่วยเป็นโรคความดันโลหิตสูงโรคเบาหวาน ได้รับการส่งต่อเพื่อการวินิจฉัยตามเกณฑ์
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมคณะทำงานร่วมกันออกแบบกิจกรรมตามแผนงาน (2) ประเมินองค์ประกอบมวลกายและตรวจสุขภาพ (3) จัดอบรมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม (4) กิจกรรมติดตามผลหลังการอบรมครั้งที่ 1 (หลังอบรม 1 เดือน) (5) กิจกรรมติดตามผลหลังการอบรม ครั้งที่ 2 (หลังอบรม 3 เดือน)
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
กลุ่มสงสัยป่วยเดินบันไดขึ้นห้องประชุม ชั้น 2 ลำบาก |
เป็นผู้สูงอายุและผู้ที่มีปัญหาข้อเข่าเสื่อม |
จัดหาสถานที่จัดประชุมเป็นชั้น 1 เพื่ออำนวยความสะดวก ไม่ต้องขึ้นลงบันได |
โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในกลุ่มสงสัยเป็นป่วยความดันโลหิตสูง,เบาหวาน ในคลินิก DPAC / Wellness Center ศูนย์แพทย์ชุมชนดอนยอ ปี 2567 จังหวัด
รหัสโครงการ
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางสาวทัตพิชา รอดรักษ์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......