กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการอาสากู้ชีพใกล้บ้านใกล้ใจ เพื่อลดอุบัติเหตุทางถนน ”
ตำบลเทพา อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา



หัวหน้าโครงการ
กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม




ชื่อโครงการ โครงการอาสากู้ชีพใกล้บ้านใกล้ใจ เพื่อลดอุบัติเหตุทางถนน

ที่อยู่ ตำบลเทพา อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 67-L8287-1-2 เลขที่ข้อตกลง 2/2567

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ธันวาคม 2566 ถึง 23 ธันวาคม 2566

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการอาสากู้ชีพใกล้บ้านใกล้ใจ เพื่อลดอุบัติเหตุทางถนน จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเทพา อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เทพา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการอาสากู้ชีพใกล้บ้านใกล้ใจ เพื่อลดอุบัติเหตุทางถนน



บทคัดย่อ

โครงการอาสากู้ชีพใกล้บ้านใกล้ใจ เพื่อลดอุบัติเหตุทางถนน มีวัตถุประสงค์เพื่อร่วมให้บริการสาธารณะด้านการแพทย์ฉุกเฉินในพื้นที่และพื้นที่ใกล้เคียง ลดอัตราการป่วย ตาย และพิการจากการประสบอุบัติเหตุของประชาชนในพื้นที่ ช่วยเหลือผู้ที่ได้รับบาดเจ็บจากอุบัติเหตุ หรือเจ็บป่วยฉุกเฉินให้ได้รับบริการและรักษาพยาบาลเบื้องต้น และจัดส่งโรงพยาบาลอย่างทันท่วงที รวดเร็ว และเกิดประสิทธิผล ให้ความช่วยเหลือประชาชนด้านการส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิต จากการเจ็บป่วยและได้รับบาดเจ็บจากอุบัติเหตุตามอำนาจหน้าหน้าที่ ป้องกันการเกิดอุบัติเหตุและการเสียชีวิตจากอุบัติเหตุบนท้องถนนในชุมชน และเพื่อสร้างภาคีเครือข่ายในการให้บริการช่วยเหลือผู้ประสบภัยทางถนน จากผลการดำเนินการตลอดระยะเวลา 1 ปีที่ผ่านมา r[ผู้ป่วยฉุกเฉินและอุบัติเหตุส่งต่อโรงพยาบาลเทพาได้ทันท่วงทีภายใน 15 นาที คิดเป็น 80 % ผู้ป่วยจากอุบัติเหตุที่เข้าหลักเกณฑ์ ได้รับความช่วยเหลือ คิดเป็น 100 % สามารถลดอุบัติเหตุ ณ จุดเสี่ยงต่างๆ คิดเป็น 100 % และเกิดภาคีเครือข่ายจิตอาสาครอบคลุมทุกหมู่บ้าน ดังนั้นการที่ผู้บริหารให้ความสำคัญ มีนโยบายที่ชัดเจน บุคลากรทำงานเป็นทีม เครือข่ายจิตอาสาเข้มแข็ง เป็นปัจจัยที่ทำให้การลดอุบัติเหตุประสบความสำเร็จ และทำให้พื้นที่เสี่ยงต่างๆเป็นจุดที่ปลอดภัย

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ตำบลเทพา อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา มีสภาพสังคมเป็นสังคมกึ่งเมืองและชนบท มีการขยายตัวทางเศรษฐกิจ ประชาชนมีวิถีชีวิตที่เร่งรีบ มีกิจวัตวัตรความเป็นอยู่ การประกอบอาชีพที่เสี่ยงต่อภาวะสุขภาพทั้งทางตรงและทางอ้อม ทำให้เกิดปัญหาสุขภาพ เกิดการเจ็บป่วย ครอบครัวมีภาระความรับผิดชอบมากยิ่งขึ้นในการดูแลรักษาส่งต่อผู้ป่วยที่มีภาวะวิกฤติฉุกเฉิน รวมถึงปัจจัยเสี่ยงด้านอุบัติเหตุที่มีแนวโน้มเพิ่มมากขึ้น เนื่องจากเขตพื้นที่องค์การบริหารส่วนตำบลเทพามีเส้นทางหลวงตัดสองเส้น ได้แก่ ถนนทางหลวงตัดจากหมู่ที่ 2 ตำบลเทพา ไปอำเภอหาดใหญ่ และถนนทางหลวงตัดจากหมู่ที่ 2 ตำบลเทพา ไปอำเภอสะบ้าย้อย ทำให้ปี พ.ศ. 2566 มีจำนวนผู้บาดเจ็บจากอุบัติเหตุทางถนน จำนวน 300 ครั้งต่อปี และเสียชีวิตจำนวน 2 รายต่อปี เป็นอันดับหนึ่งของอำเภอเทพา อุบัติเหตุเหล่านี้มักมีสาเหตุมาจากหลายปัจจัยด้วยกัน ได้แก่ (1) ปัจจัยด้านพฤติกรรมของผู้ขับขี่ (2) ปัจจัยด้านรถหรือยานพาหนะ (3) ปัจจัยด้านถนนและสิ่งแวดล้อม และ (4) ปัจจัยด้านการบริหารจัดการการเข้าถึงความช่วยเหลืออย่างรวดเร็ว อุบัติเหตุที่เป็นผลมาจากปัจจัยทั้ง 4 ข้างต้นนี้ เมื่อเกิดอุบัติเหตุขึ้นแล้วย่อมส่งผลให้เกิดความเสียหายขึ้น ไม่ว่าจะเป็นความเสียหายต่อชีวิตและทรัพย์สิน นับว่าเป็นภัยอย่างร้ายแรงที่จะส่งผลเสียหายต่อสังคมในภาพรวม
    ทางกองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม องค์การบริหารส่วนตำบลเทพา จึงเห็นความสำคัญและได้นำเสนอโครงการอาสากู้ชีพใกล้บ้านใกล้ใจ เพื่อลดอุบัติเหตุทางถนน ป้องกันการเกิดอุบัติเหตุและการเสียชีวิตจากอุบัติเหตุบนท้องถนนในชุมชน มีการเข้าถึงการช่วยเหลือที่รวดเร็ว และส่งเสริมให้ประชาชนผู้ใช้เส้นทางจราจรเกิดพฤติกรรมการใช้รถใช้ถนนที่ถูกต้องและปลอดภัย

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้อาสาสมัครภาคประชาชนตามสถานศึกษามีความรู้และทักษะในการช่วยเหลือเบื้องต้นสำหรับผู้ประสบอุบัติเหตุทางถนน
  2. เพื่อป้องกันการเกิดอุบัติเหตุและการเสียชีวิตจากอุบัติเหตุบนท้องถนนในชุมชน
  3. เพื่อลดจำนวนครั้งการเกิดอุบัติเหตุทางถนนในพื้นที่ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
  4. เพื่อลดจำนวนผู้เสียชีวิตจากอุบัติเหตุทางถนนในพื้นที่ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมอาสาสมัครตามสถานศึกษา
  2. รณรงค์และประชาสัมพันธ์การขับขี่อย่างปลอดภัย และติดตั้งป้ายจุดเสี่ยงต่างๆในพื้นที่ตำบลเทพา เพื่อตำบลปลอดภัย
  3. รณรงค์และประชาสัมพันธ์การขับขี่อย่างปลอดภัยและติดตั้งป้ายจุดเสี่ยงต่างๆในพื้นที่ตำบลเทพาเพื่อตำบลปลอดภัย

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 160
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. อาสาสมัครภาคประชาชนมีความรู้และทักษะในการช่วยเหลือเบื้องต้นสำหรับผู้ประสบอุบัติเหตุทางถนน
  2. ชุมชนมีอัตราการเกิดอุบัติเหตุและการเสียชีวิตจากอุบัติเหตุบนท้องถนนลดลง

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. รณรงค์และประชาสัมพันธ์การขับขี่อย่างปลอดภัย และติดตั้งป้ายจุดเสี่ยงต่างๆในพื้นที่ตำบลเทพา เพื่อตำบลปลอดภัย

วันที่ 13 ธันวาคม 2566 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

7.1.1 สร้างความรู้ ความเข้าใจ และประชาสัมพันธ์การแพทย์ฉุกเฉินแก่ประชาชนอย่างทั่วถึง -กิจกรรมติดแผ่นป้าย 6 อาการฉุกเฉิน/เตือนภัย -จัดทำหนังสือประชาสัมพันธ์การแพทย์ฉุกเฉินแจ้งเวียนผู้นำศาสนา ผู้นำชุมชน
7.1.2 รณรงค์และประชาสัมพันธ์การขับขี่อย่างปลอดภัย และติดตั้งป้ายจุดเสี่ยงต่างๆในพื้นที่ตำบลเทพา เพื่อขับเคลื่อนตำบลปลอดภัย 7.1.3 ส่งเสริมการป้องกันการเจ็บป่วยฉุกเฉิน -จัดทำโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง เพื่อป้องกันโรคหลอดเลือดสมองและหัวใจ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

-มีการติดแผ่นป้าย 6 อาการฉุกเฉิน จำนวน 50 แผ่น -ผู้นำศาสนา ผู้นำชุมชน ได้แจ้งข้อมูลการแพทย์ฉุกเฉิน ณ มัสยิด จำนวน 14 แห่ง สามารถนำกลุ่มเสี่ยงเข้ารับการตรวจสุขภาพประจำปี จำนวน 200 คน มีติดป้ายเตือนทางแยก ป้ายห้ามขับรถย้อนศร ป้ายระวังวัวข้ามถนน และป้ายห้ามปล่อยสัตว์ จำนวน 7 แผ่น ตามจุดเสี่ยงต่างๆ

 

1,000 0

2. อบรมอาสาสมัครตามสถานศึกษา

วันที่ 18 ธันวาคม 2566 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

  1. อบรมอาสาสมัครตามสถานศึกษาเพื่อป้องกันอุบัติเหตุจากปัจจัยด้านพฤติกรรมของผู้ขับขี่ปัจจัยด้านรถหรือปัจจัยยานพาหนะปัจจัยด้านถนนและสิ่งแวดล้อม -การประเมินสถานการณ์  จำนวน  4  แห่ง -โรงเรียนบ้านพระพุทธ  จำนวน 50 คน
    -โรงเรียนวัดเทพาไพโรจน์ จำนวน 30 คน
    -โรงเรียนบ้านป่ากอ        จำนวน 30 คน
    -โรงเรียนบ้านป่าโอน      จำนวน 50 คน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

อาสาสมัครภาคตามสถานศึกษาได้มีการอบรมทักษะในการช่วยเหลือเบื้องต้นสำหรับผู้ประสบอุบัติเหตุทางถนน จำนวน 160 คน

 

160 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

ผลการดำเนินงาน ประกอบด้วย 4 ระยะ

ระยะที่ 1 เตรียมความพร้อม 1. สร้างภาคีเครือข่ายในการให้บริการช่วยเหลือผู้ประสบภัยทางถนน 2. ดำเนินกิจกรรมจิตอาสาเพื่อป้องกันอุบัติเหตุจากปัจจัยด้านต่างๆ
3. พัฒนาอาสาสมัคร เป็นวิทยากรในการให้ความรู้และฝึกทักษะการทำ CPR ตามสถานศึกษาในพื้นที่

ระยะที่ 2 ก่อนเกิดเหตุ และระหว่างเกิดเหตุ
1. สร้างความรู้ ความเข้าใจ และประชาสัมพันธ์จุดเสี่ยงต่างๆ 2. รณรงค์และประชาสัมพันธ์การขับขี่อย่างปลอดภัย
3. เฝ้าระวังเหตุ รับแจ้งเหตุ และบริการการแพทย์ฉุกเฉินตลอด 24 ชั่วโมง และไปจุดเกิดเหตุภายใน 15 นาที 4.ประชุมถอดบทเรียน เดือนละ 1 ครั้ง

ระยะที่ 3 หลังเกิดเหตุ 1. สำรวจและลงทะเบียนผู้ป่วยและผู้ได้รับบาดเจ็บจากอุบัติเหตุ พร้อมตรวจสอบข้อเท็จจริง 2. คณะกรรมการความช่วยเหลือประชาชน เพื่อพิจารณาอนุมัติ 3. จัดทำแผนการช่วยเหลือ โดยยึดหลักการ “ดูแลดุจญาติมิตร ใกล้บ้าน ใกล้ใจ พึ่งพาได้ทุกเวลา”
ระยะที่ 4 การติดตามผล 1. แต่งตั้งคณะกรรมการติดตามตรวจสอบผลการดำเนินการ 2. ประเมินความพึงพอใจต่อการให้บริการ 3. นำปัญหา และข้อเสนอแนะในภาพรวม เพื่อพัฒนาต่อยอดโครงการให้ดีขึ้น

สรุปในภาพรวม 1. จุดเด่นของโครงการ/กิจกรรม ในครั้งนี้
- เป็นโครงการใหม่ที่ตอบสนองปัญหาของพื้นที่อย่างแท้จริง เนื่องจากมีผู้ป่วยฉุกเฉินเป็นอันดับที่ 1 ของอำเภอเทพา - มีการพัฒนาศักยภาพบุคลากรอย่างต่อเนื่อง และมีข้อปฏิบัติในการทำงานจำนวน 16 ข้อ เป็นทิศทางการทำงานให้เป็นมืออาชีพ ภายใต้การบริการ “กู้ชีพ อบต.เทพา ใกล้บ้าน ใกล้ใจ พึ่งพาได้ทุกเวลา” - มีการจัดทำและเก็บข้อมูลอย่างเป็นระบบ
- มีภาคีเครือข่ายจิตอาสาครอบคลุมทุกพื้นที่และให้ความร่วมมือในการแจ้งข้อมูลอุบัติเหตุอย่างรวดเร็ว - มีแนวทางการช่วยเหลือผู้ป่วยฉุกเฉิน/อุบัติเหตุแบบเบ็ดเสร็จตั้งแต่ระหว่างเกิดเหตุจนถึงระยะฟื้นฟู 2.จุดที่ควรพัฒนาของโครงการ/กิจกรรม ในครั้งนี้ - ควรมีการพัฒนาช่องทางการแจ้งเหตุแบบออนไลน์ เพื่อให้ผู้เกี่ยวข้องได้มีการติดตามข้อมูลอย่างเป็นระบบ - ควรรณรงค์ให้ประชาชนมีความรอบรู้ทางสุขภาพ เรื่อง อุบัติเหตุ/อาการฉุกฉิน เพื่อลดความสูญเสียทางด้านร่างกาย
- ควรมีการกำหนดพื้นที่เลี้ยงสัตว์ หรือเขตห้ามปล่อยสัตว์ให้ชัดเจน เพื่อป้องกันการเกิดอุบัติเหตุทางถนน 3. ข้อเสนอแนะเพื่อพัฒนาของโครงการ/กิจกรรม ในครั้งนี้ - ควรพัฒนาโครงการเป็นโครงการบริการการแพทย์ฉุกเฉินแบบเบ็ดเสร็จ และยกระดับหน่วยบริการ การแพทย์ฉุกเฉินจากระดับต้น เป็นหน่วยบริการการแพทย์ฉุกเฉินระดับกลาง 4. ปัญหาหรืออุปสรรค - อาคารสถานที่ของหน่วยการแพทย์ฉุกเฉินมีลักษณะแคบ มีพื้นที่ไม่เพียงพอในการปฏิบัติงาน - ระดับความรอบรู้ของประชาชนต่างกัน ทำให้มีบางส่วนไม่ได้ให้ความสำคัญในการสวมอุปกรณ์ป้องกันความปลอดภัย - ด้วยวิถีชีวิตแบบชนบท ทำให้ประชาชนบางส่วนมีการเลี้ยงสัตว์เลี้ยงแบบปล่อยที่หรือทางสาธารณะ อาจทำให้มีความเสี่ยงในการเกิดอุบัติเหตุ - แกนนำหมู่บ้านบางหมู่บ้านยังขาดประสบการณ์ตรงในการดำเนินงาน จึงควรมีหมู่บ้านต้นแบบเพื่อเป็นแหล่งเรียนรู้ 5.ปัจจัยแห่งความสำเร็จ - ผู้บริหารให้ความสำคัญ และมีนโยบายด้านการแพทย์ฉุกเฉินที่ชัดเจน - บุคลากรด้านการแพทย์ฉุกเฉินมีความสามัคคี และทำงานเป็นทีม - มีเครือข่ายจิตอาสาที่เข้มแข็ง

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้อาสาสมัครภาคประชาชนตามสถานศึกษามีความรู้และทักษะในการช่วยเหลือเบื้องต้นสำหรับผู้ประสบอุบัติเหตุทางถนน
ตัวชี้วัด : อาสาสมัครภาคประชาชน สามารถเป็นผู้ประสานงานในการช่วยเหลือเหตุอุบัติเหตุทางถนน 1 กลุ่ม/สถานศึกษา

 

2 เพื่อป้องกันการเกิดอุบัติเหตุและการเสียชีวิตจากอุบัติเหตุบนท้องถนนในชุมชน
ตัวชี้วัด : -มีการติดตั้งป้ายจุดเสี่ยงต่างๆครอบคลุมทุกพื้นที่ -ประชาชนมีการสวมหมวกนิรภัย เพิ่มขึ้นร้อยละ 30

 

3 เพื่อลดจำนวนครั้งการเกิดอุบัติเหตุทางถนนในพื้นที่ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ตัวชี้วัด : จำนวนครั้งการเกิดอุบัติเหตุทางถนนในพื้นที่ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
300.00 180.00

 

4 เพื่อลดจำนวนผู้เสียชีวิตจากอุบัติเหตุทางถนนในพื้นที่ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ตัวชี้วัด : จำนวนผู้เสียชีวิตจากอุบัติเหตุทางถนนในพื้นที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
2.00 0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 160 160
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 160 160
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการอาสากู้ชีพใกล้บ้านใกล้ใจ เพื่อลดอุบัติเหตุทางถนน มีวัตถุประสงค์เพื่อร่วมให้บริการสาธารณะด้านการแพทย์ฉุกเฉินในพื้นที่และพื้นที่ใกล้เคียง ลดอัตราการป่วย ตาย และพิการจากการประสบอุบัติเหตุของประชาชนในพื้นที่ ช่วยเหลือผู้ที่ได้รับบาดเจ็บจากอุบัติเหตุ หรือเจ็บป่วยฉุกเฉินให้ได้รับบริการและรักษาพยาบาลเบื้องต้น และจัดส่งโรงพยาบาลอย่างทันท่วงที รวดเร็ว และเกิดประสิทธิผล ให้ความช่วยเหลือประชาชนด้านการส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิต จากการเจ็บป่วยและได้รับบาดเจ็บจากอุบัติเหตุตามอำนาจหน้าหน้าที่ ป้องกันการเกิดอุบัติเหตุและการเสียชีวิตจากอุบัติเหตุบนท้องถนนในชุมชน และเพื่อสร้างภาคีเครือข่ายในการให้บริการช่วยเหลือผู้ประสบภัยทางถนน จากผลการดำเนินการตลอดระยะเวลา 1 ปีที่ผ่านมา r[ผู้ป่วยฉุกเฉินและอุบัติเหตุส่งต่อโรงพยาบาลเทพาได้ทันท่วงทีภายใน 15 นาที คิดเป็น 80 % ผู้ป่วยจากอุบัติเหตุที่เข้าหลักเกณฑ์ ได้รับความช่วยเหลือ คิดเป็น 100 % สามารถลดอุบัติเหตุ ณ จุดเสี่ยงต่างๆ คิดเป็น 100 % และเกิดภาคีเครือข่ายจิตอาสาครอบคลุมทุกหมู่บ้าน ดังนั้นการที่ผู้บริหารให้ความสำคัญ มีนโยบายที่ชัดเจน บุคลากรทำงานเป็นทีม เครือข่ายจิตอาสาเข้มแข็ง เป็นปัจจัยที่ทำให้การลดอุบัติเหตุประสบความสำเร็จ และทำให้พื้นที่เสี่ยงต่างๆเป็นจุดที่ปลอดภัย

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

ชื่อโครงการ โครงการอาสากู้ชีพใกล้บ้านใกล้ใจ เพื่อลดอุบัติเหตุทางถนน

รหัสโครงการ 67-L8287-1-2 รหัสสัญญา 2/2567 ระยะเวลาโครงการ 1 ธันวาคม 2566 - 23 ธันวาคม 2566

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

  • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
  • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
  • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
  • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
  • กระบวนการชุมชน
  • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

งานการแพทย์ฉุกเฉินของอบต.เทพา เป็นงานใหม่ที่มีความสำคัญภายใต้ความร่วมมือ และสร้างความรู้ ความเข้าใจ และประชาสัมพันธ์การแพทย์ฉุกเฉินแก่ประชาชนอย่างทั่วถึง -กิจกรรมติดแผ่นป้าย 6 อาการฉุกเฉิน/เตือนภัย -จัดทำหนังสือประชาสัมพันธ์การแพทย์ฉุกเฉินแจ้งเวียนผู้นำศาสนา ผู้นำชุมชน

เอกสารรายงานผลสรุปโครงการ

สร้างการรับรู้แก่ประชาชนที่มาร่วมละหมาดวันศุกร์อย่างต่อเนื่อง

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

มีเครือข่ายอาสาสมัครการแพทย์ฉุกเฉินครอบคลุมพื้นที่ตำบลเทพา

เอกสารรายงานผลสรุปโครงการ

พัฒนาอาสาสมัครด้านการใช้เครื่อง AED

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่

มี Flow chart การให้บริการการแพทย์ฉุกเฉิน อบต.เทพา แก่กลุ่มผู้บาดเจ็บจากการได้รับอุบัติเหตุ/ ผู้ป่วยอื่นๆ+ยากจน

เอกสารรายงานผลสรุปโครงการ

พัฒนาระบบยื่นคำร้องแบบออนไลน์

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

ปรับรูปแบบการทำงานแบบบริการการแพทย์ฉุกเฉินแบบเบ็ดเสร็จ
และยกระดับเป็นหน่วยบริการการแพทย์ฉุกเฉิน ใกล้บ้าน ใกล้ใจ พึ่งพาได้ทุกเวลา

เอกสารรายงานผลสรุปโครงการ

ยกระดับเป็นหน่วยบริการการแพทย์ฉุกเฉิน ใกล้บ้าน ใกล้ใจ พึ่งพาได้ทุกเวลา

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

มีชมรมอาสากู้ชีพตำบลเทพา

เอกสารรายงานผลสรุปโครงการ

จัดให้มีที่กำการชมรม

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

เป็นหน่วยบริการต้นแบด้านการแพทย์ฉุกเฉิน ใกล้บ้าน ใกล้ใจ พึ่งพาได้ทุกเวลา

เอกสารรายงานผลสรุปโครงการ

พัฒนานวัตกรรมการดูแลผู้ป่วยอุบัติเหตุ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

ประชาชนมีการรับรู้ 6 อาการฉุกเฉิน/เตือนภัย

แบบประเมินการรับรู้

ควรมีการเฝ้าระวังอาการฉุกเฉิน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การบริโภค

จัดทำโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง เพื่อป้องกันโรคหลอดเลือดสมองและหัวใจ

เอกสารรายงานผลสรุปโครงการ

ควรมีการประเมินระดับพฤติกรรม

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย

จัดทำโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง เพื่อป้องกันโรคหลอดเลือดสมองและหัวใจ

เอกสารรายงานผลสรุปโครงการ

ควรมีการประเมินระดับพฤติกรรม

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

จัดทำโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง เพื่อป้องกันโรคหลอดเลือดสมองและหัวใจ

เอกสารรายงานผลสรุปโครงการ

ควรมีการประเมินระดับพฤติกรรม

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

จัดทำป้ายเตือนต่างๆตามจุดเสี่ยง

เอกสารรายงานผลสรุปโครงการ

ควรมีการประเมินระดับพฤติกรรม

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

จัดทำโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง เพื่อป้องกันโรคหลอดเลือดสมองและหัวใจ

 

ควรมีการประเมินระดับพฤติกรรม

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

จัดทำโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง เพื่อป้องกันโรคหลอดเลือดสมองและหัวใจ

 

ควรมีการประเมินระดับพฤติกรรม

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

จัดทำโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง เพื่อป้องกันโรคหลอดเลือดสมองและหัวใจ

 

ควรมีการประเมินระดับพฤติกรรม

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
9. อื่นๆ

 

 

 

3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. อื่นๆ

 

 

 

4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

 

 

 

5. เกิดกระบวนการชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. อื่นๆ

 

 

 

6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. อื่นๆ

 

 

 

โครงการอาสากู้ชีพใกล้บ้านใกล้ใจ เพื่อลดอุบัติเหตุทางถนน จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 67-L8287-1-2

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด