โครงการแก้ปัญหาสุขภาพและป้องกันโรคที่เกิดจากภัยพิบัติน้ำท่วมในพื้นที่ตำบลกาวะ ประจำปี 2567
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการแก้ปัญหาสุขภาพและป้องกันโรคที่เกิดจากภัยพิบัติน้ำท่วมในพื้นที่ตำบลกาวะ ประจำปี 2567 ”
ตำบลกาวะ อำเภอสุไหงปาดี จังหวัดนราธิวาส
หัวหน้าโครงการ
นางฮายาตี ดาโอะ
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กาวะ
มีนาคม 2567
ชื่อโครงการ โครงการแก้ปัญหาสุขภาพและป้องกันโรคที่เกิดจากภัยพิบัติน้ำท่วมในพื้นที่ตำบลกาวะ ประจำปี 2567
ที่อยู่ ตำบลกาวะ อำเภอสุไหงปาดี จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 67-50115-05-01 เลขที่ข้อตกลง 3/2567
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 23 พฤศจิกายน 2566 ถึง 31 มีนาคม 2567
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการแก้ปัญหาสุขภาพและป้องกันโรคที่เกิดจากภัยพิบัติน้ำท่วมในพื้นที่ตำบลกาวะ ประจำปี 2567 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลกาวะ อำเภอสุไหงปาดี จังหวัดนราธิวาส
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กาวะ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการแก้ปัญหาสุขภาพและป้องกันโรคที่เกิดจากภัยพิบัติน้ำท่วมในพื้นที่ตำบลกาวะ ประจำปี 2567
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการแก้ปัญหาสุขภาพและป้องกันโรคที่เกิดจากภัยพิบัติน้ำท่วมในพื้นที่ตำบลกาวะ ประจำปี 2567 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลกาวะ อำเภอสุไหงปาดี จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 67-50115-05-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 23 พฤศจิกายน 2566 - 31 มีนาคม 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 40,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กาวะ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 400 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ภาคใต้ของประเทศไทย เป็นภูมิอากาศแบบมรสุมเมืองร้อน และโดยที่ภูมิประเทศของภาคใต้มีลักษณะเป็นคาบสมุทรยาวแหลม มีพื้นน้ำขนาบอยู่ทั้งทางด้านตะวันตก และทางด้านตะวันออก จึงทำให้มีฝนตกตลอดปีและเป็นภูมิภาคที่มีฝนตกมากที่สุด
นราธิวาสเป็นจังหวัดที่อยู่ทางภาคใต้ฝั่งตะวันออกจัดว่าเป็นจังหวัดที่มีฝนค่อนข้างดีตลอดปี ในฤดูมรสุม ตะวันออกเฉียงเหนือจะมีฝนชุกมากกว่าฤดูมรสุมตะวันตกเฉียงใต้เพราะอยู่ทางด้านตะวันออกของภาคใต้ ไม่มีภูเขาสูงปิดกั้น จึงได้รับมรสุมเต็มที่ท่าให้มีฝนตกชุกโดยเฉพาะเดือนพฤศจิกายนและธันวาคม ปริมาณฝนของจังหวัดอยู่ในเกณฑ์ดีถ้าเทียบกับทั้งประเทศ แต่ถ้าเปรียบเทียบในภาคเดียวกันถือว่าปานกลาง ตำบลกาวะ เป็นตำบลหนึ่งในอำเภอสุไหงปาดี จังหวัดนราธิวาส เป็นที่ราบลุ่มพื้นที่เกษตรกรรมด้านการทำไร่นา ปลูกยางพาราและปาล์มน้ำมัน ช่วงเดือนตุลาคม - ธันวาคมของทุกปี จะมีฝนตกชุก และส่งผลให้มีบริเวณน้ำท่วมขังเป็นเวลานานทั้งในสวนยางพาราและปาล์มน้ำมันและบริเวณบ้านเรือนของประชาชน
สถานการณ์น้ำท่วมตำบลกาวะปี 2566 ที่ผ่านมา พบว่า ตำบลกาวะ อำเภอสุไหงปาดี จังหวัดนราธิวาส มีหลังคาเรือน จำนวน 344 หลังคาเรือน ได้รับผลกระทบจากน้ำท่วมขัง ซึ่งพบบริเวณ พื้นที่ทั้ง 6 หมู่บ้านของตำบล เพราะเป็นพื้นที่ราบลุ่ม คิดเป็นร้อยละ 23.83 จากการสำรวจและเยี่ยมติดตาม ประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากน้ำท่วม ขอให้ทางองค์การบริหารส่วนตำบลกาวะ ให้ความช่วยเหลือด้านสาธารณสุขเบื้องต้น ถุงยังชีพ และอื่นๆ จึงเป็นที่มาที่จะจัดโครงการแก้ปัญหาสาธารณสุขเบื้องต้นแก่ประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภาวะน้ำท่วมตำบลกาวะ ประจำปี 2567 นี้ขึ้น เพื่อบรรเทาปํญหาทางสาธารณสุขที่จะเกิดขึ้นต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อแก้ปัญหาทางสาธารณสุขเบื้องต้นแก่ประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภาวะน้ำท่วม
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- แกนนำสาธารณสุขและเจ้าหน้าที่ ลงสำรวจประชาชนที่ได้รับผลกระทบและแนะนำการป้องกันโรค
- สนับสนุนเวชภัณฑ์ยาพร้อมให้ความรู้เกี่ยวกับการป้องกันโรคที่มากับน้ำท่วม
- แกนนำสาธารณสุขและเจ้าหน้าที่ลงเยี่ยมติดตามและประเมินผลกระทบต่อสุขภาพหลังเกิดภัยพิบัติน้ำท่วม
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
400
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
หลังคาเรือนที่ได้รับผลกระทบจากภัยพิบัติน้ำท่วม
400
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ประชาชนในพื้นที่ประสบอุทกภัยได้รับการแก้ปัญหาสุขภาพ
- ประชาชนมีความรู้และสามารถป้องกันโรคที่มากับน้ำท่วมได้
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. แกนนำสาธารณสุขและเจ้าหน้าที่ ลงสำรวจประชาชนที่ได้รับผลกระทบและแนะนำการป้องกันโรค
วันที่ 25 ธันวาคม 2566 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
เจ้าหน้าที่ลงสำรวจประชาชนที่ได้รับผลกระทบและแนะนำการป้องกันโรค
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
1 ประชาชนในพื้นที่ประสบอุทกภัยได้รับการแก้ปัญหาสุขภาพ
2 ประชาชนมีความรู้และสามารถป้องกันโรคที่มากับน้ำท่วมได้
0
0
2. สนับสนุนเวชภัณฑ์ยาพร้อมให้ความรู้เกี่ยวกับการป้องกันโรคที่มากับน้ำท่วม
วันที่ 10 มกราคม 2567 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ลงพื้นที่แจกเวชภัณฑ์ยาพร้อมให้ความรู้เกี่ยวกับการป้องกันโรคที่มากับน้ำท่วม
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
1 ประชาชนในพื้นที่ประสบอุทกภัยได้รับการแก้ปัญหาสุขภาพ
2 ประชาชนมีความรู้และสามารถป้องกันโรคที่มากับน้ำท่วมได้
0
0
3. แกนนำสาธารณสุขและเจ้าหน้าที่ลงเยี่ยมติดตามและประเมินผลกระทบต่อสุขภาพหลังเกิดภัยพิบัติน้ำท่วม
วันที่ 29 มีนาคม 2567 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
แกนนำสาธารณสุขและเจ้าหน้าที่ลงเยี่ยมติดตามและประเมินผลกระทบต่อสุขภาพหลังเกิดภัยพิบัติน้ำท่วม
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
1 ประชาชนในพื้นที่ประสบอุทกภัยได้รับการแก้ปัญหาสุขภาพ
2 ประชาชนมีความรู้และสามารถป้องกันโรคที่มากับน้ำท่วมได้
0
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2567 สำนักปลัด องค์การบริหารส่วนตำบลกาวะ ได้รับงบประมารเป็นเงินจำนวน 40,000 บาท เพื่อจัดซื้อชุดเวชภัณฑ์ยาช่วยเหลือผู้ประสบภัยน้ำท่วม ตามโครงการแก้ปัญหาสุขภาพและป้องกันโรคที่เกิดจากภัยพิบัติน้ำท่วมในพื้นที่ตำบลกาวะ ประจำปี 2567 จำนวน 400 ชุด เพื่อแก้ปัญหาทางสาธารณสุขเบื้องต้นแก่ประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภาวะน้ำท่วม ผลการดำเนินงานปรากฎว่าสำเร็จตามวัตถุประสงค์ โดยสามารถลดความเสี่ยงจากโรคที่เกิดจากน้ำท่วมและช่วยเพิ่มความรู้ความเข้าใจในการป้องกันโดรคแก่ประชาชนในพื้นที่ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อแก้ปัญหาทางสาธารณสุขเบื้องต้นแก่ประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภาวะน้ำท่วม
ตัวชี้วัด : สามารถลดปัญหาทางสาธารณสุขเบื้องต้นและบรรเทาประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภาวะน้ำท่วม(ร้อยละ)
23.83
100.00
100.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
800
800
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
400
400
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
หลังคาเรือนที่ได้รับผลกระทบจากภัยพิบัติน้ำท่วม
400
400
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อแก้ปัญหาทางสาธารณสุขเบื้องต้นแก่ประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภาวะน้ำท่วม
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) แกนนำสาธารณสุขและเจ้าหน้าที่ ลงสำรวจประชาชนที่ได้รับผลกระทบและแนะนำการป้องกันโรค (2) สนับสนุนเวชภัณฑ์ยาพร้อมให้ความรู้เกี่ยวกับการป้องกันโรคที่มากับน้ำท่วม (3) แกนนำสาธารณสุขและเจ้าหน้าที่ลงเยี่ยมติดตามและประเมินผลกระทบต่อสุขภาพหลังเกิดภัยพิบัติน้ำท่วม
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการแก้ปัญหาสุขภาพและป้องกันโรคที่เกิดจากภัยพิบัติน้ำท่วมในพื้นที่ตำบลกาวะ ประจำปี 2567 จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 67-50115-05-01
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางฮายาตี ดาโอะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการแก้ปัญหาสุขภาพและป้องกันโรคที่เกิดจากภัยพิบัติน้ำท่วมในพื้นที่ตำบลกาวะ ประจำปี 2567 ”
ตำบลกาวะ อำเภอสุไหงปาดี จังหวัดนราธิวาส
หัวหน้าโครงการ
นางฮายาตี ดาโอะ
มีนาคม 2567
ที่อยู่ ตำบลกาวะ อำเภอสุไหงปาดี จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 67-50115-05-01 เลขที่ข้อตกลง 3/2567
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 23 พฤศจิกายน 2566 ถึง 31 มีนาคม 2567
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการแก้ปัญหาสุขภาพและป้องกันโรคที่เกิดจากภัยพิบัติน้ำท่วมในพื้นที่ตำบลกาวะ ประจำปี 2567 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลกาวะ อำเภอสุไหงปาดี จังหวัดนราธิวาส
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กาวะ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการแก้ปัญหาสุขภาพและป้องกันโรคที่เกิดจากภัยพิบัติน้ำท่วมในพื้นที่ตำบลกาวะ ประจำปี 2567
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการแก้ปัญหาสุขภาพและป้องกันโรคที่เกิดจากภัยพิบัติน้ำท่วมในพื้นที่ตำบลกาวะ ประจำปี 2567 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลกาวะ อำเภอสุไหงปาดี จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 67-50115-05-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 23 พฤศจิกายน 2566 - 31 มีนาคม 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 40,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กาวะ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 400 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ภาคใต้ของประเทศไทย เป็นภูมิอากาศแบบมรสุมเมืองร้อน และโดยที่ภูมิประเทศของภาคใต้มีลักษณะเป็นคาบสมุทรยาวแหลม มีพื้นน้ำขนาบอยู่ทั้งทางด้านตะวันตก และทางด้านตะวันออก จึงทำให้มีฝนตกตลอดปีและเป็นภูมิภาคที่มีฝนตกมากที่สุด นราธิวาสเป็นจังหวัดที่อยู่ทางภาคใต้ฝั่งตะวันออกจัดว่าเป็นจังหวัดที่มีฝนค่อนข้างดีตลอดปี ในฤดูมรสุม ตะวันออกเฉียงเหนือจะมีฝนชุกมากกว่าฤดูมรสุมตะวันตกเฉียงใต้เพราะอยู่ทางด้านตะวันออกของภาคใต้ ไม่มีภูเขาสูงปิดกั้น จึงได้รับมรสุมเต็มที่ท่าให้มีฝนตกชุกโดยเฉพาะเดือนพฤศจิกายนและธันวาคม ปริมาณฝนของจังหวัดอยู่ในเกณฑ์ดีถ้าเทียบกับทั้งประเทศ แต่ถ้าเปรียบเทียบในภาคเดียวกันถือว่าปานกลาง ตำบลกาวะ เป็นตำบลหนึ่งในอำเภอสุไหงปาดี จังหวัดนราธิวาส เป็นที่ราบลุ่มพื้นที่เกษตรกรรมด้านการทำไร่นา ปลูกยางพาราและปาล์มน้ำมัน ช่วงเดือนตุลาคม - ธันวาคมของทุกปี จะมีฝนตกชุก และส่งผลให้มีบริเวณน้ำท่วมขังเป็นเวลานานทั้งในสวนยางพาราและปาล์มน้ำมันและบริเวณบ้านเรือนของประชาชน สถานการณ์น้ำท่วมตำบลกาวะปี 2566 ที่ผ่านมา พบว่า ตำบลกาวะ อำเภอสุไหงปาดี จังหวัดนราธิวาส มีหลังคาเรือน จำนวน 344 หลังคาเรือน ได้รับผลกระทบจากน้ำท่วมขัง ซึ่งพบบริเวณ พื้นที่ทั้ง 6 หมู่บ้านของตำบล เพราะเป็นพื้นที่ราบลุ่ม คิดเป็นร้อยละ 23.83 จากการสำรวจและเยี่ยมติดตาม ประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากน้ำท่วม ขอให้ทางองค์การบริหารส่วนตำบลกาวะ ให้ความช่วยเหลือด้านสาธารณสุขเบื้องต้น ถุงยังชีพ และอื่นๆ จึงเป็นที่มาที่จะจัดโครงการแก้ปัญหาสาธารณสุขเบื้องต้นแก่ประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภาวะน้ำท่วมตำบลกาวะ ประจำปี 2567 นี้ขึ้น เพื่อบรรเทาปํญหาทางสาธารณสุขที่จะเกิดขึ้นต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อแก้ปัญหาทางสาธารณสุขเบื้องต้นแก่ประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภาวะน้ำท่วม
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- แกนนำสาธารณสุขและเจ้าหน้าที่ ลงสำรวจประชาชนที่ได้รับผลกระทบและแนะนำการป้องกันโรค
- สนับสนุนเวชภัณฑ์ยาพร้อมให้ความรู้เกี่ยวกับการป้องกันโรคที่มากับน้ำท่วม
- แกนนำสาธารณสุขและเจ้าหน้าที่ลงเยี่ยมติดตามและประเมินผลกระทบต่อสุขภาพหลังเกิดภัยพิบัติน้ำท่วม
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 400 | |
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | ||
หลังคาเรือนที่ได้รับผลกระทบจากภัยพิบัติน้ำท่วม | 400 |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ประชาชนในพื้นที่ประสบอุทกภัยได้รับการแก้ปัญหาสุขภาพ
- ประชาชนมีความรู้และสามารถป้องกันโรคที่มากับน้ำท่วมได้
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. แกนนำสาธารณสุขและเจ้าหน้าที่ ลงสำรวจประชาชนที่ได้รับผลกระทบและแนะนำการป้องกันโรค |
||
วันที่ 25 ธันวาคม 2566 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำเจ้าหน้าที่ลงสำรวจประชาชนที่ได้รับผลกระทบและแนะนำการป้องกันโรค ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น1 ประชาชนในพื้นที่ประสบอุทกภัยได้รับการแก้ปัญหาสุขภาพ 2 ประชาชนมีความรู้และสามารถป้องกันโรคที่มากับน้ำท่วมได้
|
0 | 0 |
2. สนับสนุนเวชภัณฑ์ยาพร้อมให้ความรู้เกี่ยวกับการป้องกันโรคที่มากับน้ำท่วม |
||
วันที่ 10 มกราคม 2567 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำลงพื้นที่แจกเวชภัณฑ์ยาพร้อมให้ความรู้เกี่ยวกับการป้องกันโรคที่มากับน้ำท่วม ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น1 ประชาชนในพื้นที่ประสบอุทกภัยได้รับการแก้ปัญหาสุขภาพ 2 ประชาชนมีความรู้และสามารถป้องกันโรคที่มากับน้ำท่วมได้
|
0 | 0 |
3. แกนนำสาธารณสุขและเจ้าหน้าที่ลงเยี่ยมติดตามและประเมินผลกระทบต่อสุขภาพหลังเกิดภัยพิบัติน้ำท่วม |
||
วันที่ 29 มีนาคม 2567 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำแกนนำสาธารณสุขและเจ้าหน้าที่ลงเยี่ยมติดตามและประเมินผลกระทบต่อสุขภาพหลังเกิดภัยพิบัติน้ำท่วม ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น1 ประชาชนในพื้นที่ประสบอุทกภัยได้รับการแก้ปัญหาสุขภาพ 2 ประชาชนมีความรู้และสามารถป้องกันโรคที่มากับน้ำท่วมได้
|
0 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2567 สำนักปลัด องค์การบริหารส่วนตำบลกาวะ ได้รับงบประมารเป็นเงินจำนวน 40,000 บาท เพื่อจัดซื้อชุดเวชภัณฑ์ยาช่วยเหลือผู้ประสบภัยน้ำท่วม ตามโครงการแก้ปัญหาสุขภาพและป้องกันโรคที่เกิดจากภัยพิบัติน้ำท่วมในพื้นที่ตำบลกาวะ ประจำปี 2567 จำนวน 400 ชุด เพื่อแก้ปัญหาทางสาธารณสุขเบื้องต้นแก่ประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภาวะน้ำท่วม ผลการดำเนินงานปรากฎว่าสำเร็จตามวัตถุประสงค์ โดยสามารถลดความเสี่ยงจากโรคที่เกิดจากน้ำท่วมและช่วยเพิ่มความรู้ความเข้าใจในการป้องกันโดรคแก่ประชาชนในพื้นที่ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อแก้ปัญหาทางสาธารณสุขเบื้องต้นแก่ประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภาวะน้ำท่วม ตัวชี้วัด : สามารถลดปัญหาทางสาธารณสุขเบื้องต้นและบรรเทาประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภาวะน้ำท่วม(ร้อยละ) |
23.83 | 100.00 | 100.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 800 | 800 | |
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 400 | 400 | |
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - | ||
หลังคาเรือนที่ได้รับผลกระทบจากภัยพิบัติน้ำท่วม | 400 | 400 |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อแก้ปัญหาทางสาธารณสุขเบื้องต้นแก่ประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภาวะน้ำท่วม
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) แกนนำสาธารณสุขและเจ้าหน้าที่ ลงสำรวจประชาชนที่ได้รับผลกระทบและแนะนำการป้องกันโรค (2) สนับสนุนเวชภัณฑ์ยาพร้อมให้ความรู้เกี่ยวกับการป้องกันโรคที่มากับน้ำท่วม (3) แกนนำสาธารณสุขและเจ้าหน้าที่ลงเยี่ยมติดตามและประเมินผลกระทบต่อสุขภาพหลังเกิดภัยพิบัติน้ำท่วม
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการแก้ปัญหาสุขภาพและป้องกันโรคที่เกิดจากภัยพิบัติน้ำท่วมในพื้นที่ตำบลกาวะ ประจำปี 2567 จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 67-50115-05-01
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางฮายาตี ดาโอะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......