กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการพัฒนาสุขภาพระดับปฐมภูมิ “ชุมชนเป็นฐาน ประชาชนสุขภาพดี” ปีงบประมาณ ๒๕๖๗ ”
หมู่ที่ 1 ,2,5 และ 6



หัวหน้าโครงการ
นางกาญจนรัตน์ วิริยะสุข




ชื่อโครงการ โครงการพัฒนาสุขภาพระดับปฐมภูมิ “ชุมชนเป็นฐาน ประชาชนสุขภาพดี” ปีงบประมาณ ๒๕๖๗

ที่อยู่ หมู่ที่ 1 ,2,5 และ 6 จังหวัด

รหัสโครงการ L5300-67-1-1 เลขที่ข้อตกลง 5/2567

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2567

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการพัฒนาสุขภาพระดับปฐมภูมิ “ชุมชนเป็นฐาน ประชาชนสุขภาพดี” ปีงบประมาณ ๒๕๖๗ จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน หมู่ที่ 1 ,2,5 และ 6

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลคลองขุด ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการพัฒนาสุขภาพระดับปฐมภูมิ “ชุมชนเป็นฐาน ประชาชนสุขภาพดี” ปีงบประมาณ ๒๕๖๗



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการพัฒนาสุขภาพระดับปฐมภูมิ “ชุมชนเป็นฐาน ประชาชนสุขภาพดี” ปีงบประมาณ ๒๕๖๗ " ดำเนินการในพื้นที่ หมู่ที่ 1 ,2,5 และ 6 รหัสโครงการ L5300-67-1-1 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 100,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลคลองขุด เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การสร้างระบบปฐมภูมิ ให้มีคุณภาพมาตรฐานบริการ ได้แก่ ส่งเสริม ป้องกัน รักษา ฟื้นฟู และ เพื่อให้เพื่อให้ครอบคลุมทั้ง 5 กลุ่มวัย ได้แก่ ปฐมวัย( 0-5 ปี) เด็กวัยเรียน (5-14 ปี) เด็กวัยรุ่น (15 21 ปี) วัยทำงาน (15 -59 ปี) วัยผู้สูงอายุ (60 ปีขึ้นไป)และประชาชนสามารถเข้าถึงการบริการสุขภาพได้อย่างรวดเร็ว โดยไม่มีขีดจำกัดทางเศษฐกิจ และเพื่อให้เกิดผลดีต่อสุขภาพของประชาชน ซึ่งการมีสุขภาพที่ดีเป็นต้นทุนของทุกคนและทุกกลุ่มวัยการสร้างนำซ่อมหรือที่เรียกว่าการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคในระดับปฐมภูมิจึงเป็นกระบวนการและสิ่งสำคัญในการบริหารจัดการระบบสุขภาพแต่ปัจจุบันการเจ็บป่วยเพิ่มสูงขึ้น รวมถึงค่าใช้จ่ายการรักษาเพิ่มมากขึ้น แต่ผลตอบแทนด้านสุขภาพมีน้อย เห็นได้จากอัตราการเจ็บป่วยด้วยโรคที่สามารถป้องกันได้หรือโรคที่เกี่ยวกับพฤติกรรมการปฏิบัติตัว ยังมีอัตราป่วยที่สูงขึ้น เช่น โรคความดันโลหิตสูงโรคเบาหวานโรคหลอดเลือดสมอง โรคไต ฯลฯ
โดยจากปัญหาสุขภาพที่สำคัญ ได้แก่การป่วยด้วยโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง โรคหลอดเลือดสมอง โรคไตผู้ป่วยจิตเวช ผู้พิการ พัฒนาการเด็กล่าช้า หญิงตั้งครรภ์ขาดการรับประทานยาเสริมธาตุเหล็ก มีภาวะคลอดก่อนกำหนด ผู้สูงอายุที่มีปัญหาสุขภาพผู้ป่วยติดบ้าน ติดเตียงรวมถึงการติดตามดูแลในพื้นที่ยังไม่ครอบคลุมและยังคงเป็นปัญหาจากสถานการณ์ที่กล่าวมาทางโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลคลองขุดจึงต้องมีการบริหารการจัดการการดูแลสุขภาพของประชาชนในพื้นที่ โดยการสำรวจ คัดกรองข้อมูลสุขภาพ รวมถึงปัญหาสุขภาพในพื้นที่ทั้งกลุ่มที่เป็นโรคเรื้อรัง กลุ่มเสี่ยงโรคเรื้อรังผู้สูงอายุ ผู้พิการเด็ก 0-5 ปี ผู้ป่วยติดเตียง หญิงตั้งครรภ์ซึ่งควรได้รับความรู้ให้เห็นถึงความสำคัญและความจำเป็นของการฝากครรภ์ก่อน ๑๒ สัปดาห์ ซึ่งเป็นจุดเริ่มต้นสำคัญอันดับแรกในการดูแลให้คำแนะนำในการปฏิบัติตนอย่างถูกต้องตามไตรมาสการคัดกรองเพื่อลดความเสี่ยง เพื่อป้องกันการคลอดก่อนกำหนดทั้งหมดนี้เป็นกลุ่มเปราะบางในพื้นที่ กลุ่มบุคคลดังกล่าวจำเป็นต้องได้รับการดูแลและให้คำแนะนำ และการเยี่ยมบ้านอย่างต่อเนื่องและเหมาะสมตามมาตรฐานการดูแลสุขภาพจากทีมหมอครอบครัวรวมถึงภาคีเครือข่ายสุขภาพในพื้นที่ ดังนั้นโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลคลองขุด อำเภอเมือง จังหวัดสตูล จึงได้จัดจัดทำโครงการพัฒนาสุขภาพในระดับปฐมภูมิ “ชุมชนเป็นฐาน ประชาขนสุขภาพดี” ปีงบประมาณ ๒๕๖๗ในพื้นที่โดยเน้นการให้บริการให้ครอบคลุมการส่งเสริม ป้องกัน รักษา ฟื้นฟู และการบริการเชิงรุกในชุมชน เพื่อสร้างเสริมสุขภาพแบบองค์รวมรวมทั้งกาย จิต สังคม โดยบูรณาการงานเยี่ยมบ้านรวมถึงการให้คำแนะนำและความรู้แก่ญาติและผู้ป่วยที่บ้าน โดยเจ้าหน้าที่สาธารณสุขและแกนนำสุขภาพเพื่อให้ประชาชนปฏิบัติตัวได้อย่างถูกต้อง เหมาะสม และมีสุขภาวะที่ดี

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อเพิ่มการได้รับฉีดวัคซีนครบตามหลักเกณฑ์เด็กเล็ก(0-3 ปี) ขึ้น
  2. เพื่อลดภาวะพัฒนาการล่าช้าเด็กเล็ก (0-6 ปี) ลง
  3. เพื่อส่งเสริมหญิงตั้งครรภ์อย่างมีคุณภาพ ลดการผิดปกติจากการตั้งครรภ์
  4. เพื่อส่งเสริมแม่ที่เลี้ยงลูกด้วยนมแม่ระยะเวลา 6 เดือน
  5. เพื่อแก้ปัญหาประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน
  6. เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง
  7. เพื่อลดจำนวนผู้สูงอายุที่เสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุ
  8. เพื่อลดผู้สูงวัย อายุ 60 ปีขึ้นไป ที่มีความเครียดระดับปานกลางถึงมาก

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. การดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพตามภารกิจ(หมอคนที่1)
  2. กิจกรรมรณรงค์คัดกรองความเสี่ยงเชิงรุก "สุขภาพปีนี้คุณเป็นอย่างไร"
  3. กิจกรรมสำรวจข้อมูลสุขภาพ
  4. กิจกรรมอบรมส่งเสริมการดูแลสุขภาพ
  5. กิจกรรมรณรงค์/ประชาสัมพันธ์/สื่อสุขศึกษา
  6. ประชุมสรุปผลการดำเนินงาน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 20
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 3,550
กลุ่มผู้สูงอายุ 20
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 15
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 30
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ 10
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

ผลผลิต
1.กลุ่มเป้าหมายได้รับการส่งเสริมและดูแลสุขภาพเบื้องต้นได้อย่างถูกต้อง
2.กลุ่มเป้าหมายที่มีภาวะเสี่ยงสูงต่อการเกิดโรค และส่งต่อเพื่อรักษาอย่างถูกต้อง
ผลลัพธ์
1.ประชาชนกลุ่มเป้าหมายเกิดความตระหนัก เห็นความสำคัญ มีความรู้ในการดูแลตนเอง
2.ประชาชนกลุ่มเป้าหมายสามารถป้องกันตนเองจากการเกิดโรคไม่ติดต่อได้
3.ประชาชนกลุ่มเป้าหมายได้รับการเยี่ยมบ้านตามเกณฑ์มาตราฐาน


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. การดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพตามภารกิจ(หมอคนที่1)

วันที่ 1 มกราคม 2567 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

การดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพตามภารกิจ(หมอคนที่1)
1.อบรมแกนนำส่งเสริมสุขภาพตามภารกิจหมอคนที่ 1 /วางแผนวิธีการดำเนินงาน 2. ลงพื้นที่สำรวจข้อมูลพื้นฐานกลุ่มเป้าหมายตามกลุ่มวัย/กลุ่มป่วย 3. จัดทำทะเบียนกลุ่มเป้าหมายให้เป็นปัจจุบัน
งบประมาณ
1.1 ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม แกนนำ/จนท.เข้าร่วมประชุม จำนวน 100 คนๆละ 30 บาท จำนวน 2 มื้อ รวมเป็นเงิน6,000บาท 1.2 ค่าอาหารกลางวัน แกนนำผู้เข้าร่วมประชุม จำนวน 100 คนๆละ 70 บาท จำนวน 1 มื้อ เป็นเงิน 7,000บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

แกนนำสุขภาพได้รับความรู้การส่งเสริมสุขภาพ มีข้ออมูลพื้นฐานและทะเบียนกลุ่มเป้าหมาย

 

0 0

2. กิจกรรมสำรวจข้อมูลสุขภาพ

วันที่ 1 มกราคม 2567 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

1.สำรวจฐานข้อมมูลสุขภาพประชาชนในพื้นที่ 2.คัดกรองประชาชน อายุ 35-49 ปี

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ประชาชนได้รับการคัดกรอง

 

0 0

3. กิจกรรมอบรมส่งเสริมการดูแลสุขภาพ

วันที่ 1 มกราคม 2567 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

1.กิจกรรมให้สุขศึกษาส่งเสริมการดูแลสุขภาพ 1.1 หญิงตั้งครรภ์ 1.2 เด็กแรกเกิด – 5 ปี ได้รับวัคซีนสร้างเสริมภูมคุ้มกันโรคตามเกณฑ์อายุ 1.3 เด็กแรกเกิด – 5 ปี หนูน้อยนมแม่ สุขภาพดี พัฒนาการสมวัย 1.4 ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง/เบาหวาน
2.จัดบริการการดูแลติดตาม/เยี่ยมบ้านโดยทีมหมอครอบครัว
2.1 กลุ่มเสี่ยงความดันโลหิตสูง/เบาหวาน
2.2 กลุ่มป่วยความดันโลหิตสูง/เบาหวาน ที่ไม่สามารถควบคุมระดับค่าความดันโลหิตสูง/เบาหวานได้ตามเกณฑ์ 2.3 กลุ่มผู้ป่วยติดเตียง 2.4 กลุ่มผู้สูงอายุติดบ้านที่มีปัญหาสุขภาพ 2.5 กลุ่มผู้ป่วยจิตเวช/ผู้พิการช่วยเหลือตัวเองไม่ได้ งบประมาณ
1.กิจกรรมอบรมส่งเสริมการดูแลสุขภาพ 1.1 ผู้ปกครองเด็ก 0-5 ปี - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม ผู้ปกครองเด็ก 0-5 ปี ที่เข้าร่วมอบรม จำนวน 20 คนๆละ 30 บาท จำนวน 2 มื้อเป็นเงิน1,200บาท -ค่าอาหารกลางวัน ผู้ปกครองเด็ก 0-5 ปี ที่เข้าร่วมอบรม จำนวน 20 คนๆละ 70 บาท จำนวน 1 มื้อเป็นเงิน 1,400บาท
1.2 ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง/เบาหวาน - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง/เบาหวาน จำนวน 150 คนๆละ 30 บาท จำนวน 2 มื้อเป็นเงิน 9,000บาท -ค่าอาหารกลางวัน ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง/เบาหวาน จำนวน 150 คนๆละ 70 บาท จำนวน 1 มื้อเป็นเงิน 10,500 บาท
1.3 กลุ่มเสี่ยงป่วยโรคความดันโลหิตสูง/เบาหวาน - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม กลุ่มเสี่ยงป่วยโรคความดันโลหิตสูง/เบาหวาน จำนวน 40 คนๆละ 30 บาท จำนวน 2 มื้อเป็นเงิน 2,400 บาท -ค่าอาหารกลางวัน กลุ่มเสี่ยงป่วยโรคความดันโลหิตสูง/เบาหวาน จำนวน 40 คนๆละ 70 บาท จำนวน 1 มื้อเป็นเงิน2,800 บาท
1.4 หญิงตั้งครรภ์ - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม หญิงตั้งครรภ์ จำนวน 15 คนๆละ 30 บาท จำนวน 2 มื้อ เป็นเงิน 900 บาท -ค่าอาหารกลางวัน หญิงตั้งครรภ์ จำนวน 15 คนๆละ 70 บาท จำนวน 1 มื้อ เป็นเงิน1,050 บาท
1.5 ผู้สูงอายุติดสังคม - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม ผู้สูงอายุติดสังคม จำนวน 20 คนๆละ 30 บาท จำนวน 2 มื้อ เป็นเงิน1,200บาท - ค่าอาหารกลางวัน ผู้สูงอายุติดสังคม จำนวน 20 คนๆละ 70 บาท จำนวน 1 มื้อเป็นเงิน 1,400บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

กลุ่มเป้าหมายได้ความรู้

 

0 0

4. กิจกรรมรณรงค์คัดกรองความเสี่ยงเชิงรุก "สุขภาพปีนี้คุณเป็นอย่างไร"

วันที่ 1 มกราคม 2567 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

บริการดูแลติดตาม/เยี่ยมบ้านโดยทีมหมอครอบครัว

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

กลุ่มเสี่ยงได้รับการติดตามเยี่ยม

 

0 0

5. กิจกรรมรณรงค์/ประชาสัมพันธ์/สื่อสุขศึกษา

วันที่ 1 มกราคม 2567 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

รณรงค์การดูแลสุขภาพและเผยแพร่สื่อประชาสัมพันธ์

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ประชาชนได้รับความรู้การดูแลสุขภาพ

 

0 0

6. ประชุมสรุปผลการดำเนินงาน

วันที่ 1 กันยายน 2567 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมเพื่อสรุปผลการดำเนินงาน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ได้ข้อมูล ปัญหาอุปสรรคเพื่อนำไปพัฒนาปรับปรุงการดำเนินงานในครั้งถัดไป

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อเพิ่มการได้รับฉีดวัคซีนครบตามหลักเกณฑ์เด็กเล็ก(0-3 ปี) ขึ้น
ตัวชี้วัด : ร้อยละของเด็กเล็ก(0-3 ปี) ได้รับฉีดวัคซีนครบตามหลักเกณฑ์
88.24 94.12

 

2 เพื่อลดภาวะพัฒนาการล่าช้าเด็กเล็ก (0-6 ปี) ลง
ตัวชี้วัด : ร้อยละของเด็กเล็ก (0-6 ปี) ที่ประเมินแล้วมีภาวะพัฒนาการล่าช้า
1.49 1.24

 

3 เพื่อส่งเสริมหญิงตั้งครรภ์อย่างมีคุณภาพ ลดการผิดปกติจากการตั้งครรภ์
ตัวชี้วัด : ร้อยละของหญิงคลอด ที่ได้รับการตรวจและเยี่ยมหลังคลอดเพิ่มขึ้น
95.12 97.56

 

4 เพื่อส่งเสริมแม่ที่เลี้ยงลูกด้วยนมแม่ระยะเวลา 6 เดือน
ตัวชี้วัด : ร้อยละของแม่ ที่เลี้ยงลูกด้วยนมแม่เป็นระยะเวลา 6 เดือน เพิ่มขึ้น
85.36 90.24

 

5 เพื่อแก้ปัญหาประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน
ตัวชี้วัด : ร้อยละของประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวานลดลง
0.45 0.39

 

6 เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง
ตัวชี้วัด : ร้อยละประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูงลดลง
5.50 4.90

 

7 เพื่อลดจำนวนผู้สูงอายุที่เสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุ
ตัวชี้วัด : ผู้สูงอายุที่เสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุ มีจำนวนลดลง
20.00 16.00

 

8 เพื่อลดผู้สูงวัย อายุ 60 ปีขึ้นไป ที่มีความเครียดระดับปานกลางถึงมาก
ตัวชี้วัด : ร้อยละของผู้สูงวัย อายุ 60 ปีขึ้นไป ที่มีความเครียดระดับปานกลางถึงมาก
34.26 32.14

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 3645
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 20
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 3,550
กลุ่มผู้สูงอายุ 20
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 15
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 30
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ 10
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเพิ่มการได้รับฉีดวัคซีนครบตามหลักเกณฑ์เด็กเล็ก(0-3 ปี) ขึ้น (2) เพื่อลดภาวะพัฒนาการล่าช้าเด็กเล็ก (0-6 ปี) ลง (3) เพื่อส่งเสริมหญิงตั้งครรภ์อย่างมีคุณภาพ ลดการผิดปกติจากการตั้งครรภ์ (4) เพื่อส่งเสริมแม่ที่เลี้ยงลูกด้วยนมแม่ระยะเวลา 6 เดือน (5) เพื่อแก้ปัญหาประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน (6) เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง (7) เพื่อลดจำนวนผู้สูงอายุที่เสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุ (8) เพื่อลดผู้สูงวัย อายุ 60 ปีขึ้นไป ที่มีความเครียดระดับปานกลางถึงมาก

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) การดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพตามภารกิจ(หมอคนที่1) (2) กิจกรรมรณรงค์คัดกรองความเสี่ยงเชิงรุก "สุขภาพปีนี้คุณเป็นอย่างไร" (3) กิจกรรมสำรวจข้อมูลสุขภาพ (4) กิจกรรมอบรมส่งเสริมการดูแลสุขภาพ (5) กิจกรรมรณรงค์/ประชาสัมพันธ์/สื่อสุขศึกษา (6) ประชุมสรุปผลการดำเนินงาน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการพัฒนาสุขภาพระดับปฐมภูมิ “ชุมชนเป็นฐาน ประชาชนสุขภาพดี” ปีงบประมาณ ๒๕๖๗ จังหวัด

รหัสโครงการ L5300-67-1-1

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางกาญจนรัตน์ วิริยะสุข )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด