กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโคกม่วง


“ โครงการส่งเสริมพฤติกรรมสุขภาพของผู้สูงอายุโดยการมีส่วนร่วม พื้นที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านท่าควาย ปีงบประมาณ 2567 ”

เขตพื้นที่เทศบาลตำบลโคกม่วง

หัวหน้าโครงการ
นางหนูจิน คงเหล่ , นางฉ้าย เหมือนศรี

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมพฤติกรรมสุขภาพของผู้สูงอายุโดยการมีส่วนร่วม พื้นที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านท่าควาย ปีงบประมาณ 2567

ที่อยู่ เขตพื้นที่เทศบาลตำบลโคกม่วง จังหวัด

รหัสโครงการ 67-L3312-2-05 เลขที่ข้อตกลง 9/67

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 20 ธันวาคม 2566 ถึง 30 กันยายน 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมพฤติกรรมสุขภาพของผู้สูงอายุโดยการมีส่วนร่วม พื้นที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านท่าควาย ปีงบประมาณ 2567 จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน เขตพื้นที่เทศบาลตำบลโคกม่วง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโคกม่วง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมพฤติกรรมสุขภาพของผู้สูงอายุโดยการมีส่วนร่วม พื้นที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านท่าควาย ปีงบประมาณ 2567



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมพฤติกรรมสุขภาพของผู้สูงอายุโดยการมีส่วนร่วม พื้นที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านท่าควาย ปีงบประมาณ 2567 " ดำเนินการในพื้นที่ เขตพื้นที่เทศบาลตำบลโคกม่วง รหัสโครงการ 67-L3312-2-05 ระยะเวลาการดำเนินงาน 20 ธันวาคม 2566 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 14,400.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโคกม่วง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ในปัจจุบันประเทศไทยมีจำนวนผู้สูงอายุเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ องค์การสหประชาชาติ กล่าวว่า เมื่อประเทศใดมีประชากร อายุ 60 ปีขึ้นไป เท่ากับหรือมากกว่าร้อยละ 20 หรือ ประชากรอายุ 65 ขึ้นไป เท่ากับหรือมากกว่าร้อยละ 14 ของประชากรทั้งหมด ถือว่าประเทศนั้นได้ก้าวเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ (Aged Society) ซึ่งประเทศไทยจะเป็นสังคมผู้สูงอายุโดยสมบูรณ์ในปี 2567สำหรับในพื้นที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านท่าควาย มีประชากร อายุ 60 ปีขึ้นไป เท่ากับ ร้อยละ 18.42และประชากรอายุ 65 ขึ้นไป เท่ากับ ร้อยละ 14.05ในการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างประชากรเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุมีผลกระทบต่ออัตราส่วนภาระพึ่งพิง หรือภาระโดยรวมที่ประชากรวัยทำงานจะต้องเลี้ยงดูประชากรวัยผู้สูงอายุมีจำนวนเพิ่มขึ้นอาจนำไปสู่ปัญหาทางเศรษฐกิจ สังคม รวมถึงปัญหาในด้านสุขภาพของผู้สูงอายุด้วย เนื่องจากผู้สูงอายุมีภาวะด้านสุขภาพที่เปลี่ยนแปลง มีความเสื่อมของร่างกาย อวัยวะต่างๆ ทั่วไปเริ่มอ่อนแอ เกิดโรคง่าย ภูมิต้านทานโรคน้อยลง รวมถึง มีการเปลี่ยนแปลงทางด้านจิตใจและสังคม นอกจากนี้ ผู้สูงอายุที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (150 นาทีต่อสัปดาห์) เพียงร้อยละ 25 และผู้สูงอายุบริโภคชอบอาหารหวาน มัน เค็ม ร้อยละ 56 ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านท่าควาย ได้ตระหนักถึงคุณค่าและสุขภาพของผู้สูงอายุ รวมถึงเข้าใจสภาพปัญหาต่างๆ ที่อาจจะเกิดขึ้นกับผู้สูงอายุในทุกๆ ด้านดังที่กล่าวมาข้างต้น จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมพฤติกรรมสุขภาพของผู้สูงอายุโดยการมีส่วนร่วม พื้นที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านท่าควาย ปีงบประมาณ 2567 และจัดกิจกรรมต่างๆ ให้สอดคล้องกับสภาพความต้องการของผู้สูงอายุ โดยมุ่งหวังให้เกิดการมีส่วนร่วมของครอบครัว ชุมชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และหน่วยงานภาครัฐ ทั้งนี้ได้มุ่งเน้นในด้านการส่งเสริมพฤติกรรมสุขภาพของผู้สูงอายุให้เป็นผู้สูงอายุที่มีคุณภาพไม่เป็นภาระต่อสังคมและครอบครัวต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อเพิ่มจำนวนผู้สูงอายุ ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ
  2. เพื่อลด จำนวนผู้สูงอายุที่ติดการบริโภคอาหารหวาน มัน เค็ม

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ประชุมเชิงปฏิบัติการคณะทำงานชมรมผู้สูงอายุ เพื่อกำหนดความต้องการส่งเสริมพฤติกรรมสุขภาพของผู้สูงอายุ
  2. ประชุมสมาชิกชมรมผู้สูงอายุ
  3. ประชุมเชิงปฏิบัติการคณะทำงานชมรมผู้สูงอายุ เพื่อพัฒนารูปแบบการส่งเสริมพฤติกรรมสุขภาพของผู้สูงอายุ
  4. กิจกรรมส่งเสริมพฤติกรรมการออกกำลังกาย และพฤติกรรมลดหวาน มัน เค็ม ของผู้สูงอายุในชุมชน
  5. กิจกรรมติดตาม และประเมินพฤติกรรมสุขภาพของผู้สูงอายุ
  6. ประชุมคณะทำงานชมรมผู้สูงอายุ สรุปผลการส่งเสริมพฤติกรรมสุขภาพของผู้สูงอายุ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ 100
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

สามารถนำไปใช้ในการวางแผนการดำเนินงาน โดยนำผลของรูปแบบมาใช้ประโยชน์ในการส่งเสริมพฤติกรรมสุขภาพของผู้สูงอายุได้ตรงกับความต้องการของผู้สูงอายุในพื้นที่


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อเพิ่มจำนวนผู้สูงอายุ ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ
ตัวชี้วัด : ร้อยละผู้สูงอายุ ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (150 นาทีต่อสัปดาห์) เพิ่มขึ้้น
25.00 20.00

 

2 เพื่อลด จำนวนผู้สูงอายุที่ติดการบริโภคอาหารหวาน มัน เค็ม
ตัวชี้วัด : ร้อยละของผู้สูงอายุที่ชอบบริโภคอาหารหวาน มัน เค็ม ลดลง
56.00 20.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 100
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ 100
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเพิ่มจำนวนผู้สูงอายุ ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (2) เพื่อลด จำนวนผู้สูงอายุที่ติดการบริโภคอาหารหวาน มัน เค็ม

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมเชิงปฏิบัติการคณะทำงานชมรมผู้สูงอายุ เพื่อกำหนดความต้องการส่งเสริมพฤติกรรมสุขภาพของผู้สูงอายุ (2) ประชุมสมาชิกชมรมผู้สูงอายุ (3) ประชุมเชิงปฏิบัติการคณะทำงานชมรมผู้สูงอายุ เพื่อพัฒนารูปแบบการส่งเสริมพฤติกรรมสุขภาพของผู้สูงอายุ (4) กิจกรรมส่งเสริมพฤติกรรมการออกกำลังกาย และพฤติกรรมลดหวาน มัน เค็ม ของผู้สูงอายุในชุมชน (5) กิจกรรมติดตาม และประเมินพฤติกรรมสุขภาพของผู้สูงอายุ (6) ประชุมคณะทำงานชมรมผู้สูงอายุ สรุปผลการส่งเสริมพฤติกรรมสุขภาพของผู้สูงอายุ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการส่งเสริมพฤติกรรมสุขภาพของผู้สูงอายุโดยการมีส่วนร่วม พื้นที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านท่าควาย ปีงบประมาณ 2567 จังหวัด

รหัสโครงการ 67-L3312-2-05

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางหนูจิน คงเหล่ , นางฉ้าย เหมือนศรี )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด