กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลหนองจิก


“ โครงการขับขี่ปลอดภัย ชีวีมีสุข ประจำปีงบประมาณ 2567 ”

ตำบลตุยง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นางอาสะน๊ะ ดอเลาะ

ชื่อโครงการ โครงการขับขี่ปลอดภัย ชีวีมีสุข ประจำปีงบประมาณ 2567

ที่อยู่ ตำบลตุยง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 06-L8283-02-67 เลขที่ข้อตกลง 06/2567

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 26 ธันวาคม 2566 ถึง 27 กันยายน 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการขับขี่ปลอดภัย ชีวีมีสุข ประจำปีงบประมาณ 2567 จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลตุยง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลหนองจิก ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการขับขี่ปลอดภัย ชีวีมีสุข ประจำปีงบประมาณ 2567



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการขับขี่ปลอดภัย ชีวีมีสุข ประจำปีงบประมาณ 2567 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลตุยง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 06-L8283-02-67 ระยะเวลาการดำเนินงาน 26 ธันวาคม 2566 - 27 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 20,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลหนองจิก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

เนื่องจากปัจจุบันปัญหาการจารจรด้านการใช้รถใช้ถนน นับวันยิ่งสะสมมากขึ้น จากการเพิ่มของจำนวนประชากร และจำนวนยานพาหนะบนท้องถนน ประกอบกับการขาดความรู้ความเข้าใจ และขาดระเบียบวินัยในการปฏิบัติตามกฎจราจรของผู้ขับขี่ซึ่งก่อให้เกิดปัญหาและเป็นสาเหตุของการเกิดอุบัติเหตุจราจรได้ทุกเวลา ดังนั้นควรให้มีการจัดอบรมด้านวินัยจราจร เพื่อมุ่งหวังให้ประชาชนได้พัฒนาตนเองในการสัญจร การใช้รถใช้ถนนอย่างปลอดภัย เคารพกฎจราจร ลดปัญหาการสูญเสียชีวิตและทรัพย์สิน โดยส่วนใหญ่ยังไม่เคารพกฎจราจร ขับรถย้อนศร ไม่สวมใส่หมวกกันน๊อค ยังขาดความรู้ความเข้าใจในสัญลักษณ์จราจร การบังคับใช้กฎหมายต่างๆ ทำให้เกิดอุบัติเหตุบ่อย สูญเสียทางด้านเศรษฐกิจ ช่วงเวลาที่ผ่านมาในระยะที่ไม่นานเท่าใดนัก เมื่อพิจารณาให้ถี่ถ้วนจะพบว่าอัตราการป่วยตายของคนไทยมีสาเหตุสำคัญเกิดจากโรคภัยที่เป็นผลมาจากพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสมทั้งสิ้น ซึ่งพฤติกรรมเหล่านี้อาจเรียกว่าพฤติกรรมเสี่ยงก็ว่าได้ พฤติกรรมเสี่ยงดังกล่าวอาจเกิดขึ้นได้ในหลายสถานการณ์ เช่น การอุปโภคบริโภค การพบปะสังสรรค์ (Interaction) ในกลุ่มมนุษย์
การขับขี่ยานพาหนะที่ไม่ปลอดภัย มีสาเหตุมาจากหลายปัจจัยด้วยกัน ได้แก่ (1) ปัจจัยด้านพฤติกรรมของผู้ขับขี่ (2) ปัจจัยด้านรถหรือยานพาหนะ (3) ปัจจัยด้านถนนและสิ่งแวดล้อม และ (4) ปัจจัยด้านการบริหารจัดการอุบัติเหตุที่เป็นผลมาจากปัจจัยทั้ง 4 ข้างต้นนี้ เมื่อเกิดอุบัติเหตุขึ้นแล้วย่อมส่งผลให้เกิดความเสียหายขึ้น ไม่ว่าจะเป็นความเสียหายที่ตีค่าเป็นตัวเงินหรือความเสียหายที่ไม่อาจตีค่าเป็นตัวเงินได้ จากความสูญเสียดังกล่าว นับว่าเป็นภัยอย่างร้ายแรงที่จะส่งผลเสียหายต่อสังคมในภาพรวม แต่เมื่อพิจารณาถึงจำนวนสถิติที่ผ่านมากลับพบว่าจำนวนอุบัติเหตุบนท้องถนนก็ยัง เกิดขึ้นให้เห็น โดยเฉพาะในช่วงเทศกาลสำคัญ ซึ่งมีจำนวนผู้ใช้รถใช้ถนนมากกว่าปกติ ทั้งนี้ เมื่อพิจารณาแล้วการดำเนินการโดยภาครัฐแต่เพียงฝ่ายเดียวคงไม่เพียงพอ ในยุคปัจจุบันควรที่จะคิดรูปแบบอื่น ๆ โดยเฉพาะการนำภาคประชาชนในท้องถิ่นที่มีความพร้อมหรือมีศักยภาพเข้ามามีส่วนร่วมในการป้องกันอุบัติเหตุอีกทางหนึ่ง ดังนั้น ชมรมอาสาสมัครประจำหมู่บ้าน จึงได้จัดทำโครงขับขี่ปลอดภัย ลดอุบัติเหตุทางท้องถนน เพื่อนักเรียนในโรงเรียนและชุมชนขึ้น เพื่อลดอัตราการเกิดอุบัติเหตุและการเสียชีวิตจากอุบัติเหตุบนท้องถนนในพื้นที่ โดยประชาชนในชุมชนร่วมกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและภาคีที่เกี่ยวข้องในระดับพื้นที่มีส่วนร่วม มีการส่งเสริมให้ประชาชนผู้ใช้เส้นทางจราจรเกิดพฤติกรรมการใช้รถใช้ถนนที่ถูกต้องและปลอดภัยตลอดจนเกิดภาคีเครือข่ายในการป้องกันและแก้ไขปัญหาอุบัติเหตุทางถนนในระดับพื้นที่โดยหน่วยงานของรัฐให้การสนับสนุน

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อลดจำนวนผู้บาดเจ็บสาหัสจากรถจักรยานยนต์
  2. เพื่อลดผู้ขับขี่รถที่มีพฤติกรรมเสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุในพื้นที่ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ประชุมคณะทำงาน
  2. อบรมให้ความรู้เรื่องกฎจราจรบนท้องถนน
  3. กิจกรรม รู้แล้วปฏิบัติตามกฎจราจร
  4. รายงานผลการดำเนินงาน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 70
กลุ่มวัยทำงาน 10
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.กลุ่มเป้าหมายสามารถป้องกันอุบัติเหตุใช้เส้นทางจราจรเกิดพฤติกรรมการใช้รถใช้ถนนที่ถูกต้องและปลอดภัย 2.อัตราการเกิดอุบัติเหตุและการเสียชีวิตจากอุบัติเหตุบนท้องถนนในพื้นที่ลดลง
3.เกิดภาคีเครือข่ายในการป้องกันและแก้ไขปัญหาอุบัติเหตุทางถนนในระดับพื้นที่


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อลดจำนวนผู้บาดเจ็บสาหัสจากรถจักรยานยนต์
ตัวชี้วัด : จำนวนผู้บาดเจ็บสาหัสจากการใช้รถจักรยานยนต์
55.00 65.00

 

2 เพื่อลดผู้ขับขี่รถที่มีพฤติกรรมเสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุในพื้นที่ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ตัวชี้วัด : ร้อยละผู้ขับขี่รถที่มีพฤติกรรมเสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุในพื้นที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
65.00 75.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 80
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 70
กลุ่มวัยทำงาน 10
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อลดจำนวนผู้บาดเจ็บสาหัสจากรถจักรยานยนต์ (2) เพื่อลดผู้ขับขี่รถที่มีพฤติกรรมเสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุในพื้นที่ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมคณะทำงาน (2) อบรมให้ความรู้เรื่องกฎจราจรบนท้องถนน (3) กิจกรรม รู้แล้วปฏิบัติตามกฎจราจร (4) รายงานผลการดำเนินงาน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการขับขี่ปลอดภัย ชีวีมีสุข ประจำปีงบประมาณ 2567 จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 06-L8283-02-67

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางอาสะน๊ะ ดอเลาะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด