กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ ควบคุมป้องกันโรคที่เกิดจากยุงลายเป็นพาหะนำโรค ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2567 ”
ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา



หัวหน้าโครงการ
พ.จ.อ.หญิง คณัสนันท์ สิทธิศักดิ์




ชื่อโครงการ ควบคุมป้องกันโรคที่เกิดจากยุงลายเป็นพาหะนำโรค ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2567

ที่อยู่ ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 67-L7258-1-09 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤศจิกายน 2566 ถึง 15 กันยายน 2567

กิตติกรรมประกาศ

"ควบคุมป้องกันโรคที่เกิดจากยุงลายเป็นพาหะนำโรค ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2567 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครหาดใหญ่ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
ควบคุมป้องกันโรคที่เกิดจากยุงลายเป็นพาหะนำโรค ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2567



บทคัดย่อ

โครงการ " ควบคุมป้องกันโรคที่เกิดจากยุงลายเป็นพาหะนำโรค ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2567 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 67-L7258-1-09 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤศจิกายน 2566 - 15 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 502,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครหาดใหญ่ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ยุงลายเป็นสัตว์พาหะนำโรคที่สำคัญ เพราะที่ทำให้เกิดโรคในมนุษย์ได้ถึง 3 โรค คือ โรคไข้เลือดออก โรคชิคุนกุนยาหรือโรคไข้ปวดข้อยุงลาย และโรคติดเชื้อไวรัสซิกา โดยเฉพาะในช่วงฤดูฝนของทุกปี จะเป็นฤดูที่มีการระบาดของโรคที่เกิดจากยุงลายสูงสุด เนื่องจากฝนที่ตกมาจะทำให้เกิดแหล่งน้ำขังเพาะพันธุ์ยุงลาย ทำให้จำนวนยุงเพิ่มขึ้นมากกว่าช่วงอื่น ๆ ของปี ดังนั้นการกำจัดยุงลายจึงเป็นมาตรการควบคุมและป้องกันโรคที่สำคัญ สำหรับสถานการณ์การเกิดโรคที่มียุงลายเป็นพาหะ ในเขตเทศบาลนครหาดใหญ่ จากศูนย์ระบาดวิทยาโรงพยาบาลหาดใหญ่ ข้อมูลย้อนหลัง 5 ปี ตั้งแต่ พ.ศ.2562 - พ.ศ.2566 พบว่า     1. โรคไข้เลือดออก     ปี พ.ศ.2562 (ข้อมูลวันที่ 1 ม.ค. - 31 ธ.ค. 2562) มีผู้ป่วย จำนวน 265 ราย ไม่มีผู้เสียชีวิต     ปี พ.ศ.2563 (ข้อมูลวันที่ 1 ม.ค. - 31 ธ.ค. 2564) มีผู้ป่วย จำนวน 53 ราย ไม่มีผู้เสียชีวิต     ปี พ.ศ.2564 (ข้อมูลวันที่ 1 ม.ค. - 31 ธ.ค. 2562) มีผู้ป่วย จำนวน 14 ราย ไม่มีผู้เสียชีวิต     ปี พ.ศ.2565 (ข้อมูลวันที่ 1 ม.ค. - 24 ธ.ค. 2565) มีผู้ป่วย จำนวน 35 ราย ไม่มีผู้เสียชีวิต     ปี พ.ศ.2566 (ข้อมูลวันที่ 1 ม.ค. – 31 ต.ค. 2566) มีผู้ป่วย จำนวน 630 ราย ไม่มีผู้เสียชีวิต     ถึงแม้ว่าปัจจุบัน สถานการณ์โรคไข้เลือดออกในพื้นที่เทศบาลนครหาดใหญ่จะมีแนวโน้มลดลง เนื่องจากมีการดำเนินงานในการป้องกันและควบคุมโรคที่เกิดจากยุงลายเป็นพาหะอย่างต่อเนื่องและมีประสิทธิภาพ ซึ่งทำให้เทศบาล
นครหาดใหญ่ได้รับรางวัลการบริหารจัดการโรคไข้เลือดออกดีเด่นจากกรมควบคุมโรค เมื่อวันที่ 22 มิถุนายน 2561 แต่ก็ยังคงวางใจไม่ได้ เนื่องจากปัญหาของการเกิดโรคที่เกิดจากยุงลายเป็นพาหะ มักเกิดจากสภาวะสิ่งแวดล้อมที่อยู่อาศัย ซึ่งเป็น ปัจจัยหนึ่งที่ต้องควบคุม
    2. โรคชิคุนกุนยาหรือไข้ปวดข้อยุงลาย     ปี พ.ศ.2562 (ข้อมูลวันที่ 1 ม.ค. - 31 ธ.ค. 2562) มีผู้ป่วย จำนวน 438 ราย     ปี พ.ศ.2563 (ข้อมูลวันที่ 1 ม.ค. - 31 ธ.ค. 2564) มีผู้ป่วย จำนวน 8 ราย
    ปี พ.ศ.2564 (ข้อมูลวันที่ 1 ม.ค. - 31 ธ.ค. 2562) มีผู้ป่วย จำนวน 3 ราย
    ปี พ.ศ.2565 (ข้อมูลวันที่ 1 ม.ค. - 24 ธ.ค. 2565) ไม่มีผู้ป่วย     ปี พ.ศ.2566 (ข้อมูลวันที่ 1 ม.ค. - 31 ต.ค. 2562) ไม่มีผู้ป่วย
    สำหรับโรคชิคุนกุนยา พบการระบาดล่าสุดในเขตเทศบาลนครหาดใหญ่ เมื่อปี พ.ศ.2552 หลังจากนั้นได้ทิ้งช่วงระบาดนานประมาณ 9 ปี โดยไม่พบผู้ป่วยด้วยโรคชิคุนกุนยา จนกระทั่งปลายเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2561 จึงพบผู้ป่วยรายแรก ถึงแม้อาการของโรคจะไม่รุนแรงถึงจนทำให้ผู้ป่วยเสียชีวิตแต่ก็ทำให้เกิดการปวดในข้อและกระดูกเรื้อรังได้นานเป็นปี       3. โรคไวรัสซิกา
      ตั้งแต่ พ.ศ.2562 - พ.ศ.2565 ไม่พบรายงานผู้ป่วยในเขตเทศบาลนครหาดใหญ่ ปีพ.ศ.2566 (ข้อมูลวันที่ 1 ม.ค. – 31 ต.ค. 66) พบรายงานผู้ป่วย มีจำนวน 2 ราย ไม่มีผู้เสียชีวิต ดังนั้น เพื่อให้ประชาชนในเขตเทศบาลนครหาดใหญ่  ไม่เจ็บป่วยด้วยโรคที่เกิดจากยุงลายเป็นพาหะ ทั้ง 3 โรค คือ โรคไข้เลือดออก โรคชิคุนกุนยาและโรคติดเชื้อไวรัสซิกา ฝ่ายป้องกันและควบคุมโรค สำนักสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลนครหาดใหญ่ จึงได้จัดทำโครงการควบคุมป้องกันโรคที่เกิดจากยุงลายเป็นพาหะขึ้น โดยมุ่งเน้นมาตรการที่สำคัญคือ การป้องกันโรคล่วงหน้าและการเฝ้าระวังป้องกันเชิงรุก การกำจัดยุงลายและทำลายแหล่งเพาะพันธุ์อย่างมีประสิทธิภาพและต่อเนื่อง รวมถึงการรณรงค์ ประชาสัมพันธ์ให้ความรู้แก่ประชาชน เพื่อให้ ปลอดโรคที่เกิดจากยุงลายเป็นพาหะ (ทั้งนี้งบประมาณในการจัดซื้อเคมีภัณฑ์ในการกำจัดยุงพาหะ กรณีงบประจำ ไม่เพียงพอในการดำเนินงาน)

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อสร้างจิตสำนึกให้ประชาชนตระหนักถึงปัญหาในการป้องกันโรคล่วงหน้าก่อนการระบาด ในการทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงลายในชุมชน
  2. เพื่อลดอัตราการเกิดโรคที่เกิดจากยุงลายเป็นพาหะโดยชุมชนมีส่วนร่วมกำจัดและควบคุมแหล่ง เพาะพันธ์ยุงลาย
  3. เพื่อบูรณาการจากทุกภาคส่วน สร้างเครือข่ายในการปรับปรุงสิ่งแวดล้อม ในการทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงลาย ในวัด โรงเรียน และชุมชน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. 1. กิจกรรมเดินรณรงค์ควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออกในชุมชน(ป้องกันโรคล่วงหน้าก่อนการระบาด
  2. กิจกรรมเดินรณรงค์ควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออกในชุมชน(ป้องกันโรคล่วงหน้าก่อนการระบาด)
  3. กิจกรรมจัดซื้อเคมีภัณฑ์ เพื่อใช้ทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงและพ่นสารเคมีกำจัดยุงตัวเต็มวัย

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. อัตราการเกิดโรคที่มียุงลายเป็นพาหะลดลงเปรียบเทียบก่อนและหลังดำเนินโครงการ
  2. ประชาชนเกิดความตระหนัก และสร้างความร่วมมือในชุมชนตลอดจนมีความรู้ และพฤติกรรมในการเฝ้าระวังและป้องกันโรคที่มียุงลายเป็นพาหะ
  3. เกิดการบูรณาการจากภาคส่วนต่าง ๆ มีการสร้างเครือข่ายในการปรับปรุงสิ่งแวดล้อม ทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงเพื่อป้องกันโรคที่มียุงลายเป็นพาหะ
  4. สร้างความรับผิดชอบและความตระหนักในการควบคุมป้องกันโรคที่มียุงลายเป็นพาหะในโรงเรียน

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมเดินรณรงค์ควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออกในชุมชน(ป้องกันโรคล่วงหน้าก่อนการระบาด)

วันที่ 11 มีนาคม 2567 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

จกรรมเดินรณรงค์ควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออกในชุมชน 1. วันที่ 11 มีนาคม 2567 ชุมชนสัจจกุล เขต 4 2. วันที่ 13 มีนาคม 2567 ชุมชนบ้านฉาง เขต 4 3. วันที่ 15 มีนาคม 2567 ชุมชนขนส่ง เขต 3 4. วันที่ 18 มีนาคม 2567 ชุมชนทุ่งเสา เขต 3 5. วันที่  20 มีนาคม 2567 ชุมชนกลางนา เขต 2 6. วันที่ 22 มีนาคม 2567 ชุมชนกิมหยง-สันติสุข เขต 2 7. วันที่ 25 มีนาคม 2567 ชุมชนหลังสนามกีฬากลาง เขต 1 8. วันที่ 27 มีนาคม 2567 ชุมชนพรุแม่สอน เขต 1

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. อัตราการเกิดโรคที่มียุงลายเป็นพาหะลดลงเปรียบเทียบก่อนและหลังดำเนินโครงการ
  2. ประชาชนเกิดความตระหนัก และสร้างความร่วมมือในชุมชนตลอดจนมีความรู้ และพฤติกรรมในการเฝ้าระวังและป้องกันโรคที่มียุงลายเป็นพาหะ
  3. เกิดการบูรณาการจากภาคส่วนต่าง ๆ มีการสร้างเครือข่ายในการปรับปรุงสิ่งแวดล้อม ทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงเพื่อป้องกันโรคที่มียุงลายเป็นพาหะ
  4. สร้างความรับผิดชอบและความตระหนักในการควบคุมป้องกันโรคที่มียุงลายเป็นพาหะในโรงเรียน

 

50 0

2. กิจกรรมจัดซื้อเคมีภัณฑ์ เพื่อใช้ทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงและพ่นสารเคมีกำจัดยุงตัวเต็มวัย

วันที่ 1 เมษายน 2567 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

1.ค่าเคมีภัณฑ์กำจัดยุงตัวเต็มวัย (ขนาด 1 ลิตร/ขวด) จำนวน 170 ขวด ๆ ละ 1,650 บาท   เป็นเงิน 280,500 บาท 2.ค่าสเปรย์พ่นยุง (ขนาด 300 ซีซี/กระป๋อง) จำนวน 150 กระป๋อง ราคาขวดละ 70 บาท   เป็นเงิน 10,500 บาท 3.ค่าโลชั่นทากันยุง (ขนาด 8 มล./ซอง) จำนวน 900 ซอง ซองละ 5 บาท   เป็นเงิน 4,500 บาท 4.ค่าทรายกำจัดลูกน้ำ (ขนาด 50 กรัม/ซอง) จำนวน 25,000 ซอง ราคาซองละ 6 บาท
  เป็นเงิน 150,000 บาท   รวมเป็นเงินทั้้งสิ้น 445,500 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. อัตราการเกิดโรคที่มียุงลายเป็นพาหะลดลงเปรียบเทียบก่อนและหลังดำเนินโครงการ
  2. ประชาชนเกิดความตระหนัก และสร้างความร่วมมือในชุมชนตลอดจนมีความรู้ และพฤติกรรมในการเฝ้าระวังและป้องกันโรคที่มียุงลายเป็นพาหะ
  3. เกิดการบูรณาการจากภาคส่วนต่าง ๆ มีการสร้างเครือข่ายในการปรับปรุงสิ่งแวดล้อม ทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงเพื่อป้องกันโรคที่มียุงลายเป็นพาหะ
  4. สร้างความรับผิดชอบและความตระหนักในการควบคุมป้องกันโรคที่มียุงลายเป็นพาหะในโรงเรียน

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อสร้างจิตสำนึกให้ประชาชนตระหนักถึงปัญหาในการป้องกันโรคล่วงหน้าก่อนการระบาด ในการทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงลายในชุมชน
ตัวชี้วัด : 1. ดัชนีความชุกชุมของลูกน้ำยุงลายในชุมชนมีค่า HI น้อยกว่า 10 (HI < 10) 2. ร้อยละ 100 ของโรงเรียน มีค่าดัชนีความชุกลูกน้ำยุงลายเท่ากับศูนย์ (CI = O)

 

2 เพื่อลดอัตราการเกิดโรคที่เกิดจากยุงลายเป็นพาหะโดยชุมชนมีส่วนร่วมกำจัดและควบคุมแหล่ง เพาะพันธ์ยุงลาย
ตัวชี้วัด : 1. อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกลดลง มากกว่าร้อยละ 2 (จากค่ามัธยฐานย้อนหลัง 5 ปี) 2. อัตราป่วยด้วยโรคที่เกิดจากยุงลายเป็นพาหะ ได้แก่ โรคชิคุนกุนยา โรคไวรัสซิกา ลดลง

 

3 เพื่อบูรณาการจากทุกภาคส่วน สร้างเครือข่ายในการปรับปรุงสิ่งแวดล้อม ในการทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงลาย ในวัด โรงเรียน และชุมชน
ตัวชี้วัด : 1. มีภาคีเครือข่ายในการป้องกันและควบคุมโรคที่เกิดจากยุงลายเป็นพาหะ เช่น วัด มัสยิด โรงเรียน ชุมชน และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อสร้างจิตสำนึกให้ประชาชนตระหนักถึงปัญหาในการป้องกันโรคล่วงหน้าก่อนการระบาด ในการทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงลายในชุมชน (2) เพื่อลดอัตราการเกิดโรคที่เกิดจากยุงลายเป็นพาหะโดยชุมชนมีส่วนร่วมกำจัดและควบคุมแหล่ง    เพาะพันธ์ยุงลาย (3) เพื่อบูรณาการจากทุกภาคส่วน สร้างเครือข่ายในการปรับปรุงสิ่งแวดล้อม ในการทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงลาย ในวัด โรงเรียน และชุมชน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1. กิจกรรมเดินรณรงค์ควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออกในชุมชน(ป้องกันโรคล่วงหน้าก่อนการระบาด (2) กิจกรรมเดินรณรงค์ควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออกในชุมชน(ป้องกันโรคล่วงหน้าก่อนการระบาด) (3) กิจกรรมจัดซื้อเคมีภัณฑ์ เพื่อใช้ทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงและพ่นสารเคมีกำจัดยุงตัวเต็มวัย

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ควบคุมป้องกันโรคที่เกิดจากยุงลายเป็นพาหะนำโรค ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2567 จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 67-L7258-1-09

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( พ.จ.อ.หญิง คณัสนันท์ สิทธิศักดิ์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด