กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการอาหารเช้าอิ่มนี้เพื่อน้องวัยใส โรงเรียนบ้านเปียะ ”
โรงเรียนบ้านเปียะ ตำบลดาโต๊ะ อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี



หัวหน้าโครงการ
นายรุสลัน สาแล




ชื่อโครงการ โครงการอาหารเช้าอิ่มนี้เพื่อน้องวัยใส โรงเรียนบ้านเปียะ

ที่อยู่ โรงเรียนบ้านเปียะ ตำบลดาโต๊ะ อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 67-L8421-02-02 เลขที่ข้อตกลง 01

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2567

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการอาหารเช้าอิ่มนี้เพื่อน้องวัยใส โรงเรียนบ้านเปียะ จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน โรงเรียนบ้านเปียะ ตำบลดาโต๊ะ อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ดาโต๊ะ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการอาหารเช้าอิ่มนี้เพื่อน้องวัยใส โรงเรียนบ้านเปียะ



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการอาหารเช้าอิ่มนี้เพื่อน้องวัยใส โรงเรียนบ้านเปียะ " ดำเนินการในพื้นที่ โรงเรียนบ้านเปียะ ตำบลดาโต๊ะ อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 67-L8421-02-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 37,500.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ดาโต๊ะ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

อาหารเช้า "เป็นมื้ออาหารที่สำคัญที่สุดของเด็กวัยกำลังเจริญเติบโต เด็กๆควรได้รับประทานอาหารมื้อเช้า เพราะมีส่วนช่วยให้มีการพัฒนาการทางด้านร่างกายและสติปัญญา ซึ่งจะช่วยให้ร่างกายทำงานได้ดีขึ้น มีพละกำลังในการทำกิจกรรมต่างๆ รวมทั้งการพัฒนาสมอง พร้อมที่จะเรียนรู้อย่างมีสมาธิและความจำ หากนักเรียนไม่ได้รับสารอาหารอย่างครบถ้วน หรือไม่เพียงพอ จะส่งผลเสียต่อสุขภาพร่างกายกับระบบภูมิคุ้มกัน อาจจะทำให้ป่วยง่าย และส่งผลในเรื่องสติปัญญาจะทำให้เรียนหนังสือไม่รู้เรื่องและจำอะไรได้ไม่ค่อยดี แต่นักเรียนส่วนใหญ่ไม่ได้รับประทานอาหารเช้าซึ่งมีหลายสาเหตุ เช่นผู้ปกครองไม่มีเวลาเตรียมอาหารมื้อเช้าเพราะต้องรีบไปทำงานซึ่งที่ทำงานอยู่ไกลบ้าน นักเรียนอาศัยกับผู้ปกครองที่เป็น ปู่ ย่า ตา ยาย ซึ่งเป็นผู้มีอายุ ผู้ปกครองมีฐานะยากจน ไม่มีรายได้ หรือรายได้ไม่เพียงพอ ส่งผลให้เด็กไม่มีกำลังใจ และท้อถอย ไม่อยากไปโรงเรียน

จากการสำรวจและสัมภาษณ์นักเรียนโรงเรียนบ้านเปียะ พบว่า ผู้ปกครองส่วนใหญ่ต้องไปทำงานตั้งแต่เช้าและไม่มีเวลาจัดเตรียมอาหารมื้อเช้าให้กับลูก นักเรียนจะเลือกรับประทานอาหารมื้อเช้าที่เป็นขนมกรุบกรอบที่ไม่มีประโยชน์ต่อร่างกาย ซึ่งไม่ถูกหลักโภชนาการที่ดีและไม่เหมาะสำหรับเด็กวัยกำลังเจริญเติบโต ทำให้นักเรียนส่วนหนึ่งของโรงเรียนบ้านเปียะมีปัญหาภาวะโภชนาการ น้ำหนัก-ส่วนสูงต่ำกว่าเกณฑ์

ซึ่งจากการรวบรวมข้อมูลโดยการชั่งน้ำหนักและวัดส่วนสูงอย่างเป็นระบบ ตั้งแต่ระดับชั้นอนุบาล 2 จนถึงชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 จำนวน 199 คน พบว่า นักเรียนโรงเรียนบ้านเปียะมีภาวะทุพโภชนาการ 50 คน ของนักเรียนทั้งหมด คิดเป็นร้อยละ 25.13

จากปัญหาดังกล่าวทางโรงเรียนบ้านเปียะ จึงเห็นความสำคัญและต้องการพัฒนานักเรียนให้มีคุณภาพทั้งร่างกายและสมอง จึงได้จัดทำโครงการอาหารเช้าอิ่มนี้เพื่อน้องวัยใส ขึ้น เพราะการรับประทานอาหารมื้อเช้านั้นเป็นมื้อสำคัญในการพัฒนาสมองของนักเรียน ถ้านักเรียนต้องมาโรงเรียนพร้อมกับความหิวต้องทนหิวมารอรับประทานอาหารกลางวันที่โรงเรียน จะทำให้นักเรียนมีปัญหาภาวะโภชนาการที่มีน้ำหนัก-ส่วนสูงต่ำกว่าเกณฑ์ เมื่อเด็กรู้สึกหิวสมองก็จะไม่มีสมาธิ คิดอะไรไม่ออก ไม่ตั้งใจเรียน ส่งผลกระทบต่อสุขภาพและประสิทธิภาพในการเรียน

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อให้นักเรียนได้รับประทานอาหารมื้อเช้าเพียงพอกับความต้องการของร่างกาย
  2. เพื่อให้นักเรียนมีน้ำหนัก-ส่วนสูงตามเกณฑ์มาตรฐาน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. นำนักเรียนชั่ง นน และวัดส่วนสูง
  2. ประชุมแต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงาน
  3. ประชุมชี้แจงโครงการแก่นักเรียนและผู้ปกครอง
  4. จัดอาหารเช้าให้แก่นักเรียนที่มีปัญหา
  5. ติดตามและประเมินผล

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 50
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.นักเรียนได้รับประทานอาหารมื้อเช้าเพียงพอกับความต้องการของร่างกาย 2.นักเรียนมีน้ำหนัก - ส่วนสูง ตามเกณฑ์มาตรฐาน


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1.เพื่อให้นักเรียนได้รับประทานอาหารมื้อเช้าเพียงพอกับความต้องการของร่างกาย
ตัวชี้วัด :
50.00 80.00

 

2 เพื่อให้นักเรียนมีน้ำหนัก-ส่วนสูงตามเกณฑ์มาตรฐาน
ตัวชี้วัด : นักเรียนมีน้ำหนัก - ส่วนสูงเพิ่มขึ้น
50.00 80.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 50
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 50
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อให้นักเรียนได้รับประทานอาหารมื้อเช้าเพียงพอกับความต้องการของร่างกาย (2) เพื่อให้นักเรียนมีน้ำหนัก-ส่วนสูงตามเกณฑ์มาตรฐาน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) นำนักเรียนชั่ง นน และวัดส่วนสูง (2) ประชุมแต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงาน (3) ประชุมชี้แจงโครงการแก่นักเรียนและผู้ปกครอง (4) จัดอาหารเช้าให้แก่นักเรียนที่มีปัญหา (5) ติดตามและประเมินผล

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการอาหารเช้าอิ่มนี้เพื่อน้องวัยใส โรงเรียนบ้านเปียะ จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 67-L8421-02-02

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายรุสลัน สาแล )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด