กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการชุมชนบำบัดยาเสพติด ปี 2567 (CBTx) อำเภอระโนด ”
ตำบลบ้านขาว อำเภอระโนด จังหวัดสงขลา



หัวหน้าโครงการ
นางแหน่งน้อย สุขจันทร์




ชื่อโครงการ โครงการชุมชนบำบัดยาเสพติด ปี 2567 (CBTx) อำเภอระโนด

ที่อยู่ ตำบลบ้านขาว อำเภอระโนด จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 67-L5222-1-07 เลขที่ข้อตกลง 07/2567

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤศจิกายน 2566 ถึง 28 กุมภาพันธ์ 2567

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการชุมชนบำบัดยาเสพติด ปี 2567 (CBTx) อำเภอระโนด จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบ้านขาว อำเภอระโนด จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านขาว ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการชุมชนบำบัดยาเสพติด ปี 2567 (CBTx) อำเภอระโนด



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการชุมชนบำบัดยาเสพติด ปี 2567 (CBTx) อำเภอระโนด " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบ้านขาว อำเภอระโนด จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 67-L5222-1-07 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤศจิกายน 2566 - 28 กุมภาพันธ์ 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 41,950.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านขาว เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

รัฐบาลให้ความสำคัญกับการแก้ไขปัญหายาเสพติดมาอย่างต่อเนื่องตามแผนงานแก้ไขปัญหาผู้เสพ ผู้ติดยาเสพติด โดยการนำผู้เสพ เข้าสู้กระบวนการบำบัดรักษาในระบบที่เหมาะสม โดยผ่านกระบวนการจำแนกคัดกรอง และนำเข้าบำบัดรักษาตามระดับความรุนแรงของการใช้ยาเสพติด พร้อมทั้งมีการติดตามดูแลช่วยเหลืออย่างเป็นระบบ เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตให้ผู้ที่ผ่านการบำบัดรักษาได้กลับได้กลับไปใช้ชีวิตในสังคมอย่างปกติสุข เน้นการมีส่วนของชุมชนในการบำบัด (CBTx)ร่วมกับภาคีเครือข่าย และการดำเนินการลดอันตรายจากยาเสพติด (Harmฯ) จากสถิติการจับกุมคดีเสพติดในพื้นที่อำเภอระโนด ยังมีการจับกุมคดียาเสพติดสูงทุกปี ในช่วงเวลาเดียวกัน ซึ่งในปี 2565 พบ 313 คดี และในปี 2566 พบ 293 คดี จากสถิติการจับกุมคดียาเสพติของระโนด และผู้ป่วยจิตเวชจากยาเสพติดของอำเภอระโนดปี 2566 จำนวน 195 ราย ตามรายละเอียดรายตำบล ดังนี้ ระโนด 41 ราย, ท่าบอน 28 ราย บ้านขาว 21 ราย, ปากแตระ 20 ราย, บ่อตรุ 17 ราย, ตะเตรียะ 11 ราย, พังยาง 10 รายม วัดสน 9 ราย, บ้านใหม่ 7 ราย, แดนสงวน 6 ราย และคลองแดน 5 ราย ประกอบกับข้อมูลจากศูนย์ฟื้นฟู พบว่าอำเภอระโนดในปี พ.ศ.2566 ได้นำผู้ใช้ ผู้เสพยาเสพติดมาเข้าศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติดทางสังคมทั้งหมด 75 ราย ดังนี้ ระโนด 22 ราย ,ระวะ 22 ราย, ปากแตระ 21 ราย, ท่าบอน 20 ราย, วัดสน 11 ราย, พังยาง 9 ราย, บ่อตรุ 9 ราย, คลองแดน 7 ราย, บ้านขาว 6 ราย, บ้านใหม่ 4 ราย, แดนสงวน 3 ราย และตะเครียะ 3 ราย จึงทำให้ทางคณะกรรมการและผู้นำชุมชน อำเภอระโนด จังหวัดสงขลา ได้เห็นความสำคัญของปัญหาดังกล่าว จึงเขียนโครงการชุมชนบำบัดยาเสพติด ปี 2567 (CBTx) อำเภอระโนดขึ้น โดยขอสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น เทศบาล/อบต.ทุกแห่ง

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อพัฒนาแกนนำในชุมชนให้มีความเข้มแข็งสามารถแก้ไขและป้องกันปัญหายาเสพติดในทุกตำบลอำเภอระโนด โดยชุมชนมีส่วนร่วม (CBTxX
  2. เพื่อศึกษากลุ่มตัวอย่างที่เคยผ่านการเข้าค่ายปรับเปลี่ยนพฤติกรรม มาพัฒนาศักยภาพชุมชน
  3. เพื่อให้ผู้เสพ ผู้ติดสารเสพติดได้รับการบำบัดรักษา ฟื้นฟู และดูแลช่วยเหลือภายใต้การมีส่วมร่วมของชุมชน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ประชุมคณะกรรมการโครงการ
  2. ทำเวที MOU และประกาศเจตนารมณ์อย่างบูรณาการ พร้อมประชาสัมพันธ์ต่อต้านยาเสพติด
  3. ประชุมเวทีประชาคม ผู้รับผิดชอบงานสุขภาพจิต และจิตเวช กำหนดแผนและแนวทางในการดำเนินงาน
  4. กิจกรรมให้ความรู้ พร้อมประชาสัมพันธ์ แก่ประชาชนและกลุ่มเป้าหมาย เรื่องพิษภัยจากยาเสพติด โดยเครือข่ายจิตเวช
  5. กิจกรรมศึกษากลุ่มตัวอย่าง และแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เพื่อป้องกันยาเสพติดในชุมชน จากผู้ที่เคยผ่านการเข้าค่ายปรับเปลี่ยนพฤติกรรม

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] 100

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.มีการแก้ไขและป้องกันปัญหายาเสพติดในหมู่บ้านทุ่งสงวน โดยชุมชนมีส่วนร่วม (CBTx) 2.ผู้เสพและผู้ติดสารเสพติดในชุมชน ได้รับการจำแนกคัดกรอง และนำเข้าสู่การบำบัดรักษา ฟื้นฟู รับ-ส่งต่อ และดูแลช่วยเหลืออย่างมีคุณภาพ 3.ชุมชนเกิดความเข้มแข็ง มีระบบการป้องกันและการแก้ไขปัญหายาเสพติดอย่างต่อเนื่อง


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อพัฒนาแกนนำในชุมชนให้มีความเข้มแข็งสามารถแก้ไขและป้องกันปัญหายาเสพติดในทุกตำบลอำเภอระโนด โดยชุมชนมีส่วนร่วม (CBTxX
ตัวชี้วัด : - จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ
0.00

 

2 เพื่อศึกษากลุ่มตัวอย่างที่เคยผ่านการเข้าค่ายปรับเปลี่ยนพฤติกรรม มาพัฒนาศักยภาพชุมชน
ตัวชี้วัด : - ร้อยละของผู้ที่คงอยู่ตลอดโครงการ
0.00

 

3 เพื่อให้ผู้เสพ ผู้ติดสารเสพติดได้รับการบำบัดรักษา ฟื้นฟู และดูแลช่วยเหลือภายใต้การมีส่วมร่วมของชุมชน
ตัวชี้วัด : - ร้อยละของผู้ที่สามารถเลิกเสพยาเสพติดในระยะบำบัด และระยะติดตาม
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 100
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] 100

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อพัฒนาแกนนำในชุมชนให้มีความเข้มแข็งสามารถแก้ไขและป้องกันปัญหายาเสพติดในทุกตำบลอำเภอระโนด โดยชุมชนมีส่วนร่วม (CBTxX (2) เพื่อศึกษากลุ่มตัวอย่างที่เคยผ่านการเข้าค่ายปรับเปลี่ยนพฤติกรรม มาพัฒนาศักยภาพชุมชน (3) เพื่อให้ผู้เสพ ผู้ติดสารเสพติดได้รับการบำบัดรักษา ฟื้นฟู และดูแลช่วยเหลือภายใต้การมีส่วมร่วมของชุมชน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมคณะกรรมการโครงการ (2) ทำเวที MOU และประกาศเจตนารมณ์อย่างบูรณาการ พร้อมประชาสัมพันธ์ต่อต้านยาเสพติด (3) ประชุมเวทีประชาคม ผู้รับผิดชอบงานสุขภาพจิต และจิตเวช กำหนดแผนและแนวทางในการดำเนินงาน (4) กิจกรรมให้ความรู้ พร้อมประชาสัมพันธ์ แก่ประชาชนและกลุ่มเป้าหมาย เรื่องพิษภัยจากยาเสพติด โดยเครือข่ายจิตเวช (5) กิจกรรมศึกษากลุ่มตัวอย่าง และแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เพื่อป้องกันยาเสพติดในชุมชน จากผู้ที่เคยผ่านการเข้าค่ายปรับเปลี่ยนพฤติกรรม

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการชุมชนบำบัดยาเสพติด ปี 2567 (CBTx) อำเภอระโนด จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 67-L5222-1-07

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางแหน่งน้อย สุขจันทร์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด