โครงการ "นมแม่แน่ที่สุด"
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการ "นมแม่แน่ที่สุด" ”
อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส
หัวหน้าโครงการ
นางเยาวรี คอลออาแซ
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองนราธิวาส
กันยายน 2560
ชื่อโครงการ โครงการ "นมแม่แน่ที่สุด"
ที่อยู่ อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 60-L7885-1-25 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2559 ถึง 30 กันยายน 2560
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการ "นมแม่แน่ที่สุด" จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองนราธิวาส ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการ "นมแม่แน่ที่สุด"
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการ "นมแม่แน่ที่สุด" " ดำเนินการในพื้นที่ อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 60-L7885-1-25 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2559 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 12,600.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองนราธิวาส เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
หลายทศวรรษที่ผ่านมามีหลักฐานที่ยืนยันชัดเจนว่าการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่มีประโยชน์มากมาย เพราะการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ไม่เพียงเป็นการให้อาหารเพื่อให้ลูกอิ่มและสามารถเจริญเติบโตขึ้นได้เท่านั้น แต่การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ยังเป็นการส่งเสริมกระบวนการพัฒนาการและการเจริญเติบโตของเด็กอย่างมีคุณภาพ ด้วยเหตุผลดังต่อไปนี้
1. นมแม่มีการเปลี่ยนแปลงสารอาหารตลอดเวลาตามอายุลูก
หลังคลอดระดับฮอร์โมนในแม่จะเปลี่ยนแปลงและร่างกายจะสร้างน้ำนมขึ้น นมที่สร้างช่วงแรกจะเป็นน้ำนมเหลือง (Colostrums) และจะค่อยเปลี่ยนเป็นน้ำนมขาวในที่สุด สารอาหารสำคัญที่มีอยู่ในนมแม่ ได้แก่ ไขมัน (ไขมันจำเป็น เช่น ไลโนเลอิกและไลโนเลนิก) ซึ่งจะทำหน้าที่ในการสร้างสารไปห่อหุ้มเส้นใยประสาทในสมองเด็ก ทำให้การส่งกระแสประสาทในสมองเด็กทำได้ดีและรวดเร็วขึ้น มีพัฒนาการในการตอบสนองต่อสิ่งเร้ารอบๆ ตัว อิมมูโนโกลบูลินในนมแม่จะช่วยลดโอกาสการเป็นภูมิแพ้ในเด็ก รวมทั้งจะช่วยลดโอกาสการติดเชื้อและไม่สบายของเด็ก
2. การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่จะทำให้เด็กมีความอ่อนโยน
การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่จะเพิ่มสัญชาตญาณความเป็นแม่ เนื่องจากขณะที่ลูกดูดนมจากอกแม่จะทำให้ระดับฮอร์โมน ออกซีโทซิน (Oxytocin) เพิ่มมากขึ้น ซึ่งฮอร์โมนตัวนี้จะช่วยให้แม่มีจิตใจอ่อนโยน ซึ่งเด็กจะรู้สึกได้ถึงความอ่อนโยน อันจะส่งผลให้เด็กมีอารมณ์ดี
3. การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่เป็นการปูพื้นฐานสำคัญของกระบวนการเรียนรู้ และตอบสนองต่อสิ่งเร้าอย่างเหมาะสม ขณะที่ลูกดูดนมแม่ประสาทสัมผัสทุกส่วนของเด็กจะถูกกระตุ้นให้เกิดการทำงาน ทั้งการมองเห็น โดยการสบตากับแม่ขณะดูดนม การรับกลิ่น เนื่องจากการอยู่ใกล้ชิดกับแม่ขณะดูดนมจะทำให้ลูกได้รับกลิ่นกายของแม่ไปด้วย และการฝึกประสาทหูเนื่องจากลูกจะได้ยินเสียงแม่ที่พูดคุยกับตนเอง
ข้อดีของการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อีกอย่างก็คือลดโอกาสการเกิดมะเร็งเต้านมของแม่ด้วย อีกทั้งเป็นการช่วยเศรษฐกิจของชาติ เนื่องจากนมแม่มีภูมิคุ้มกันที่ช่วยทำให้ร่างกายของเด็กแข็งแรง ถึงแม้ว่าการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่จะมีประโยชน์เพียงใด แต่การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ก็ยังมีปัญหาอุปสรรคอยู่หลายประการ โดยเฉพาะเรื่องปริมาณและคุณภาพของน้ำนม แต่โดยทั่วไปแล้วปริมาณน้ำนมแม่มีปริมาณพอเพียงกับความต้องการของลูกอยู่แล้ว คุณภาพน้ำนมแม่นั้นจะขึ้นอยู่กับภาวะโภชนาการของแม่ กรณีที่แม่พบว่าปริมาณน้ำนมไม่เพียงพอนั้นควรจะมีการทบทวนประเด็นต่างๆ เหล่านี้ก่อนที่จะตัดสินใจใช้ยาหรือวิธีการอื่นๆ ที่ช่วยเพิ่มปริมาณของน้ำนม ได้แก่ เทคนิคที่ดีก็คือให้ลูกดูดเร็ว ดูดบ่อย ดูดถูกวิธี ภาวะจิตใจของแม่ ภาวะโภชนาการของแม่ระหว่าตั้งครรภ์และให้นมลูก ระหว่างที่ตั้งครรภ์แม่จำเป็นต้องได้รับอาหารเพียงพอสำหรับตนเองและเด็กในครรภ์ ตลอดจนสะสมไว้สำหรับสร้างน้ำนมหลังคลอดเพราะหลังคลอดบุตรจะได้มีน้ำนมแม่ให้ลูกดูดอย่างเพียงพอและสามารถเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ได้สำเร็จ
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อพัฒนาการดำเนินงานอนามัยแม่และเด็ก
- ส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่
- เพื่อใช้สำหรับสาธิตการนวดเต้านมและการบีบเก็บน้ำนม
- เพื่อแก้ไขหัวนมหญิงตั้งครรภ์ที่มีปัญหา
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
60
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
หญิงตั้งครรภ์มีความรู้และสามารถเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ได้สำเร็จ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. จัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้เชิงปฏิบัติการแก่หญิงตัั้งครรภ์และหญิงหลังคลอดบุตร/แกนนำชุมชน/คณะอาสาสมัครสาธารณสุข และเจ้าหน้าที่ผู้เกี่ยวข้อง
วันที่ 1 มกราคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
1.ให้ความรู้เรื่องอาหารส่งเสริมการสร้างของน้ำนมแม่แก่แกนนำ/อาสาสมัครสาธารณสุขหญิงตั้งครรภ์และประชาชนที่สนใจ
2.จัดกลุ่มแลกเปลี่ยนเรียนรู้ประสบการณ์โดยตรง เพื่อความสำเร็จในการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่
3.ทบทวนความรู้เรื่องอาหารส่งเสริมการสร้างน้ำนมแม่และการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ โดยตั้งคำถามและให้มีการตอบกลับเป็นรายบุคคล
60
60
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ให้ความรู้เรื่องอาหารส่งเสริมการสร้างของน้ำนมแม่แก่แกนนำ/อาสาสมัครสาธารณสุขหญิงตั้งครรภ์ และหญิงหลังคลอดบุตรในความรับผิดชอบศสม.ยะกัง2
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อพัฒนาการดำเนินงานอนามัยแม่และเด็ก
ตัวชี้วัด :
2
ส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่
ตัวชี้วัด :
3
เพื่อใช้สำหรับสาธิตการนวดเต้านมและการบีบเก็บน้ำนม
ตัวชี้วัด :
4
เพื่อแก้ไขหัวนมหญิงตั้งครรภ์ที่มีปัญหา
ตัวชี้วัด :
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
60
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
60
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อพัฒนาการดำเนินงานอนามัยแม่และเด็ก (2) ส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ (3) เพื่อใช้สำหรับสาธิตการนวดเต้านมและการบีบเก็บน้ำนม (4) เพื่อแก้ไขหัวนมหญิงตั้งครรภ์ที่มีปัญหา
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการ "นมแม่แน่ที่สุด" จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 60-L7885-1-25
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางเยาวรี คอลออาแซ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการ "นมแม่แน่ที่สุด" ”
อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส
หัวหน้าโครงการ
นางเยาวรี คอลออาแซ
กันยายน 2560
ที่อยู่ อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 60-L7885-1-25 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2559 ถึง 30 กันยายน 2560
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการ "นมแม่แน่ที่สุด" จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองนราธิวาส ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการ "นมแม่แน่ที่สุด"
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการ "นมแม่แน่ที่สุด" " ดำเนินการในพื้นที่ อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 60-L7885-1-25 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2559 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 12,600.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองนราธิวาส เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
หลายทศวรรษที่ผ่านมามีหลักฐานที่ยืนยันชัดเจนว่าการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่มีประโยชน์มากมาย เพราะการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ไม่เพียงเป็นการให้อาหารเพื่อให้ลูกอิ่มและสามารถเจริญเติบโตขึ้นได้เท่านั้น แต่การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ยังเป็นการส่งเสริมกระบวนการพัฒนาการและการเจริญเติบโตของเด็กอย่างมีคุณภาพ ด้วยเหตุผลดังต่อไปนี้
1. นมแม่มีการเปลี่ยนแปลงสารอาหารตลอดเวลาตามอายุลูก
หลังคลอดระดับฮอร์โมนในแม่จะเปลี่ยนแปลงและร่างกายจะสร้างน้ำนมขึ้น นมที่สร้างช่วงแรกจะเป็นน้ำนมเหลือง (Colostrums) และจะค่อยเปลี่ยนเป็นน้ำนมขาวในที่สุด สารอาหารสำคัญที่มีอยู่ในนมแม่ ได้แก่ ไขมัน (ไขมันจำเป็น เช่น ไลโนเลอิกและไลโนเลนิก) ซึ่งจะทำหน้าที่ในการสร้างสารไปห่อหุ้มเส้นใยประสาทในสมองเด็ก ทำให้การส่งกระแสประสาทในสมองเด็กทำได้ดีและรวดเร็วขึ้น มีพัฒนาการในการตอบสนองต่อสิ่งเร้ารอบๆ ตัว อิมมูโนโกลบูลินในนมแม่จะช่วยลดโอกาสการเป็นภูมิแพ้ในเด็ก รวมทั้งจะช่วยลดโอกาสการติดเชื้อและไม่สบายของเด็ก
2. การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่จะทำให้เด็กมีความอ่อนโยน
การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่จะเพิ่มสัญชาตญาณความเป็นแม่ เนื่องจากขณะที่ลูกดูดนมจากอกแม่จะทำให้ระดับฮอร์โมน ออกซีโทซิน (Oxytocin) เพิ่มมากขึ้น ซึ่งฮอร์โมนตัวนี้จะช่วยให้แม่มีจิตใจอ่อนโยน ซึ่งเด็กจะรู้สึกได้ถึงความอ่อนโยน อันจะส่งผลให้เด็กมีอารมณ์ดี
3. การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่เป็นการปูพื้นฐานสำคัญของกระบวนการเรียนรู้ และตอบสนองต่อสิ่งเร้าอย่างเหมาะสม ขณะที่ลูกดูดนมแม่ประสาทสัมผัสทุกส่วนของเด็กจะถูกกระตุ้นให้เกิดการทำงาน ทั้งการมองเห็น โดยการสบตากับแม่ขณะดูดนม การรับกลิ่น เนื่องจากการอยู่ใกล้ชิดกับแม่ขณะดูดนมจะทำให้ลูกได้รับกลิ่นกายของแม่ไปด้วย และการฝึกประสาทหูเนื่องจากลูกจะได้ยินเสียงแม่ที่พูดคุยกับตนเอง
ข้อดีของการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อีกอย่างก็คือลดโอกาสการเกิดมะเร็งเต้านมของแม่ด้วย อีกทั้งเป็นการช่วยเศรษฐกิจของชาติ เนื่องจากนมแม่มีภูมิคุ้มกันที่ช่วยทำให้ร่างกายของเด็กแข็งแรง ถึงแม้ว่าการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่จะมีประโยชน์เพียงใด แต่การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ก็ยังมีปัญหาอุปสรรคอยู่หลายประการ โดยเฉพาะเรื่องปริมาณและคุณภาพของน้ำนม แต่โดยทั่วไปแล้วปริมาณน้ำนมแม่มีปริมาณพอเพียงกับความต้องการของลูกอยู่แล้ว คุณภาพน้ำนมแม่นั้นจะขึ้นอยู่กับภาวะโภชนาการของแม่ กรณีที่แม่พบว่าปริมาณน้ำนมไม่เพียงพอนั้นควรจะมีการทบทวนประเด็นต่างๆ เหล่านี้ก่อนที่จะตัดสินใจใช้ยาหรือวิธีการอื่นๆ ที่ช่วยเพิ่มปริมาณของน้ำนม ได้แก่ เทคนิคที่ดีก็คือให้ลูกดูดเร็ว ดูดบ่อย ดูดถูกวิธี ภาวะจิตใจของแม่ ภาวะโภชนาการของแม่ระหว่าตั้งครรภ์และให้นมลูก ระหว่างที่ตั้งครรภ์แม่จำเป็นต้องได้รับอาหารเพียงพอสำหรับตนเองและเด็กในครรภ์ ตลอดจนสะสมไว้สำหรับสร้างน้ำนมหลังคลอดเพราะหลังคลอดบุตรจะได้มีน้ำนมแม่ให้ลูกดูดอย่างเพียงพอและสามารถเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ได้สำเร็จ
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อพัฒนาการดำเนินงานอนามัยแม่และเด็ก
- ส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่
- เพื่อใช้สำหรับสาธิตการนวดเต้านมและการบีบเก็บน้ำนม
- เพื่อแก้ไขหัวนมหญิงตั้งครรภ์ที่มีปัญหา
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | 60 | |
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
หญิงตั้งครรภ์มีความรู้และสามารถเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ได้สำเร็จ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. จัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้เชิงปฏิบัติการแก่หญิงตัั้งครรภ์และหญิงหลังคลอดบุตร/แกนนำชุมชน/คณะอาสาสมัครสาธารณสุข และเจ้าหน้าที่ผู้เกี่ยวข้อง |
||
วันที่ 1 มกราคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น1.ให้ความรู้เรื่องอาหารส่งเสริมการสร้างของน้ำนมแม่แก่แกนนำ/อาสาสมัครสาธารณสุขหญิงตั้งครรภ์และประชาชนที่สนใจ 2.จัดกลุ่มแลกเปลี่ยนเรียนรู้ประสบการณ์โดยตรง เพื่อความสำเร็จในการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ 3.ทบทวนความรู้เรื่องอาหารส่งเสริมการสร้างน้ำนมแม่และการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ โดยตั้งคำถามและให้มีการตอบกลับเป็นรายบุคคล
|
60 | 60 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ให้ความรู้เรื่องอาหารส่งเสริมการสร้างของน้ำนมแม่แก่แกนนำ/อาสาสมัครสาธารณสุขหญิงตั้งครรภ์ และหญิงหลังคลอดบุตรในความรับผิดชอบศสม.ยะกัง2
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อพัฒนาการดำเนินงานอนามัยแม่และเด็ก ตัวชี้วัด : |
|
|||
2 | ส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ ตัวชี้วัด : |
|
|||
3 | เพื่อใช้สำหรับสาธิตการนวดเต้านมและการบีบเก็บน้ำนม ตัวชี้วัด : |
|
|||
4 | เพื่อแก้ไขหัวนมหญิงตั้งครรภ์ที่มีปัญหา ตัวชี้วัด : |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 60 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | 60 | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อพัฒนาการดำเนินงานอนามัยแม่และเด็ก (2) ส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ (3) เพื่อใช้สำหรับสาธิตการนวดเต้านมและการบีบเก็บน้ำนม (4) เพื่อแก้ไขหัวนมหญิงตั้งครรภ์ที่มีปัญหา
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการ "นมแม่แน่ที่สุด" จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 60-L7885-1-25
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางเยาวรี คอลออาแซ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......