กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บางด้วน


“ โครงการอบรมการคัดแยกขยะและการธนาคารขยะ ”

ตำบลบางด้วน อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง

หัวหน้าโครงการ
นางกัญญ์สินีณัฐ แซ่เตียว

ชื่อโครงการ โครงการอบรมการคัดแยกขยะและการธนาคารขยะ

ที่อยู่ ตำบลบางด้วน อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 67-L1483-02-04 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2567 ถึง 31 กรกฎาคม 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการอบรมการคัดแยกขยะและการธนาคารขยะ จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบางด้วน อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บางด้วน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการอบรมการคัดแยกขยะและการธนาคารขยะ



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการอบรมการคัดแยกขยะและการธนาคารขยะ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบางด้วน อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 67-L1483-02-04 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2567 - 31 กรกฎาคม 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 14,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บางด้วน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัญหาขยะมูลฝอยเป็นปัญหาสำาคัญที่อยูคู่กับสังคมไทยมายาวนาน และมีแนวโน้มทวีความรุนแรง เนื่องจากการเพิ่มขึ้นของปริมาณขยะมูลฝอยทุกปี ตามอัตราการเพิ่มขึ้นของจำนวนประชากร การขยายตัวทางเศรษฐกิจและการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมในการอุปโภคบริโภคของประชาชน แต่ปริมาณขยะมูลฝอยที่ได้รับการจัดการอยางถูกต้องเพิ่มขึ้นในอัตราที่ต่ำ องคการบริหารส่วนตำบลบางด้วนกำลังประสบปัญหาในด้านการบริหารจัดการขยะเชนเดียวกันไม่ว่าจะเป็นปริมาณขยะที่เพิ่มมากขึ้นตามจำนวนประชากร ปัญหาการทิ้งขยะไม่เป็นที่ไม่เป็นเวลา และปัญหาขยะตกค้างต่าง ๆ ดังนั้น แนวทางแก้ไขปัญหาขยะมูลฝอยในระยะยาวจะต้องสนับสนุนและขยายผลให้ประชาชนลดปริมาณการเกิดขยะมูลฝอยจากครัวเรือน โดยหลักการ 3Rs Rs ได้แก่ 1) Reduce 2) Reuse 3) Recycle รวมทั้งสร้างแรงจูงใจด้านการเพิ่มรายได้ให้กับประชาชนในการร่วมกันคัดแยกขยะมูลฝอยอีกด้วย
ตามพระราชบัญญัติสภาตำบลและองคการบริหารส่วนตำบล พ.ศ. 2537 แก้ไขเพิ่มเติมถึง (ฉบับที่ 6) พ.ศ. 2552 องคการบริหารส่วนตำบลมีหน้าที่ต้องทำในเขตองคการบริหารส่วนตำบล ตามมาตรา 67 ข้อ 2 รักษาความสะอาด ถนน ทางน้ำ ทางเดิน และที่สาธารณะ รวมทั้งการจัดการมูลฝอยและสิงปฏิกูล และข้อ 7 คุ้มครองดูแลและบำรุงรักษาทรัพยากรธรรมชาติและสงแวดล้อม และพระราชบัญญัติรักษาความสะอาดและความเป็นระเบียบเรียบร้อยของบานเมือง พ.ศ. 2535 แก้ไขเพิ่มเติมถึง (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2560 มาตรา 34/1 กำหนดให้การเก็บ ขน และกำจัดสิ่งปฏิกูลและมูลฝอย ในเขตพื้นที่ของราชการสวนท้องถิ่นใด ให้เป็นหน้าที่และอำนาจของราชการส่วนท้องถิ่นนั้น ดังนั้น องค์การบริหารส่วนตำบลบางด้วนจึงได้จัดทำโครงการอบรมการคัดแยกขยะและการธนาคารขยะ ขึ้น เพื่อสร้างความตระหนักและการมีสวนร่วมของประชาชนในการจัดการขยะในครัวเรือน อันจะช่วยลดปริมาณขยะในครัวเรือนและช่วยลดการเกิดโรคจากขยะมูลฝอยที่กระทบกับปัญหาสุขภาพ เช่น โรคไข้เลือดออกจากการที่มีน้ำขัง โรคที่มากับฉี่หนู เป็นต้น นอกจากจะทำให้ลดปริมาณขยะและยังเป็นการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมได้อย่างยั่งยืนต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อปลูกฝังสร้างจิตสำนึกให้กับครูและนักเรียนในการจัดการขยะมูลฝอย เพื่อลดการสะสมของเชื้อโรคอันก่อให้เกิดปัญหาสุขภาพของประชาชน 2. เพื่อส่งเสริมให้ครู นักเรียนและผู้ปกครองตระหนักถึง ความสำคัญ รู้จักและเขาใจการคัดแยกขยะ การกำจัดขยะอย่างถูกวิธีเพื่อลดการสะสมของเชื้อโรคซึ่งมีผลต่อสุขภาพ 3. เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนกิจกรรมการมีส่วนร่วมของประชาชนในชุมชน และนักเรียนในการจัดการขยะและการดูแลสุขภาพของประชาชนอย่างยั่งยืน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. ผู้ปกครองและเด็กนักเรียนทุกคนในเขตตำบลบางด้วนมีจิตสำนึกในการคัดแยกขยะมูลฝอย
    2. ผู้ปกครองและเด็กนักเรียนในเขตตำบลบางด้วนตระหนักถึงความสำคัญในการลดปริมาณและคัดแยกขยะ และมีความรู้ความเข้าใจในการคัดแยกขยะมูลฝอยในครัวเรือน
    3. เด็กนักเรียนในเขตตำบลบางด้วนมีส่วนร่วมในการบริหารจัดการขยะมูลฝอย
    4. มีธนาคารขยะรับซื้อขยะจากเด็กนักเรียนในเขตตำบลบางด้วน

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1. เพื่อปลูกฝังสร้างจิตสำนึกให้กับครูและนักเรียนในการจัดการขยะมูลฝอย เพื่อลดการสะสมของเชื้อโรคอันก่อให้เกิดปัญหาสุขภาพของประชาชน 2. เพื่อส่งเสริมให้ครู นักเรียนและผู้ปกครองตระหนักถึง ความสำคัญ รู้จักและเขาใจการคัดแยกขยะ การกำจัดขยะอย่างถูกวิธีเพื่อลดการสะสมของเชื้อโรคซึ่งมีผลต่อสุขภาพ 3. เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนกิจกรรมการมีส่วนร่วมของประชาชนในชุมชน และนักเรียนในการจัดการขยะและการดูแลสุขภาพของประชาชนอย่างยั่งยืน
    ตัวชี้วัด :

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อปลูกฝังสร้างจิตสำนึกให้กับครูและนักเรียนในการจัดการขยะมูลฝอย เพื่อลดการสะสมของเชื้อโรคอันก่อให้เกิดปัญหาสุขภาพของประชาชน 2. เพื่อส่งเสริมให้ครู นักเรียนและผู้ปกครองตระหนักถึง ความสำคัญ รู้จักและเขาใจการคัดแยกขยะ การกำจัดขยะอย่างถูกวิธีเพื่อลดการสะสมของเชื้อโรคซึ่งมีผลต่อสุขภาพ 3. เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนกิจกรรมการมีส่วนร่วมของประชาชนในชุมชน และนักเรียนในการจัดการขยะและการดูแลสุขภาพของประชาชนอย่างยั่งยืน

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการอบรมการคัดแยกขยะและการธนาคารขยะ จังหวัด ตรัง

    รหัสโครงการ 67-L1483-02-04

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางกัญญ์สินีณัฐ แซ่เตียว )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด