กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สุไหงปาดี


“ โครงการหนูน้อยปลอดภัย ห่างไกลอุบัติเหตุ ”

ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กวัดประดิษฐ์บุปผา (บ้านใหม่) ตำบลสุไหงปาดี อำเภอสุไหงปาดี จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นางปิยนันท์ รักชน

ชื่อโครงการ โครงการหนูน้อยปลอดภัย ห่างไกลอุบัติเหตุ

ที่อยู่ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กวัดประดิษฐ์บุปผา (บ้านใหม่) ตำบลสุไหงปาดี อำเภอสุไหงปาดี จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 67-L2543-3-16 เลขที่ข้อตกลง 16/2567

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 13 มิถุนายน 2567 ถึง 25 กันยายน 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการหนูน้อยปลอดภัย ห่างไกลอุบัติเหตุ จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กวัดประดิษฐ์บุปผา (บ้านใหม่) ตำบลสุไหงปาดี อำเภอสุไหงปาดี จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สุไหงปาดี ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการหนูน้อยปลอดภัย ห่างไกลอุบัติเหตุ



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการหนูน้อยปลอดภัย ห่างไกลอุบัติเหตุ " ดำเนินการในพื้นที่ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กวัดประดิษฐ์บุปผา (บ้านใหม่) ตำบลสุไหงปาดี อำเภอสุไหงปาดี จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 67-L2543-3-16 ระยะเวลาการดำเนินงาน 13 มิถุนายน 2567 - 25 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 15,495.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สุไหงปาดี เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ในปัจจุบันนี้พบว่าการเกิดอุบัติเหตุจากการจมน้ำในเด็กปฐมวัย และเกิดความรุนแรงจากอุบัติเหตุบนท้องถนนกับเด็กเป็นจำนวนมาก จากการสำรวจพบว่าประเทศไทยมีอัตราผู้เสียชีวิตจากอุบัติเหตุทางถนนมากที่สุดเป็นอันดับ ๑ ของโลก ซึ่ง ๘๐% ของอุบัติเหตุทางถนน เกิดจากการใช้รถจักรยานยนต์ แต่คนไทยส่วนใหญ่ยังไม่ให้ความสำคัญกับการปกป้องตนเองจากความเสี่ยงดังกล่าว สอดคล้องกับข้อมูลที่บอกว่า มีผู้ใช้รถจักรยานยนต์ในเมืองไทย โดยเฉพาะเด็ก ใส่หมวกกันน็อกเพียงแค่ ๘% เท่านั้น ทำให้มีเด็กไทย เสียชีวิตจากการไม่ใส่หมวกกันน็อก ถึง ๕,๐๐๐ คน ต่อปี ปัจจุบันเด็กและเยาวชนจำนวนมาก มีความจำเป็นต้องเดินทางไปยังสถานศึกษาในรูปแบบต่างๆ เช่น ผู้ปกครองขับขี่รถมอเตอร์ไซด์ไปส่ง หรือเยาวชนขับขี่ด้วยตนเอง ซึ่งล้วนแต่มีความเสี่ยงในการใช้รถใช้ถนนด้วยกันทั้งสิ้น และเป็นสาเหตุสำคัญของการเกิดอุบัติเหตุสูงก็คือ ขับขี่หรือซ้อนท้ายรถจักรยานยนต์ไปยังสถานศึกษา ซึ่งบางคนมีพฤติกรรมเสี่ยงในการขับขี่ เช่น ขาดประสบการณ์และทักษะในการขับขี่ ประมาท ไม่เคารพกฎจราจร ขาดจิตสำนึกในการใช้รถใช้ถนน ไม่ใส่ใจในความปลอดภัยของตนเองและเพื่อนร่วมทาง พฤติกรรมเหล่านี้ส่งผลให้การเกิดอุบัติเหตุในเด็กและเยาวชนซึ่งอยู่ในวัยกำลังเรียน มีความเสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุ อุบัติเหตุทางน้ำยังเป็นอีกสาเหตุหนึ่งที่ทำให้เด็กไทยเสียชีวิตมากที่สุดเช่นกัน จากสภาพปัญหาของเด็กจมน้ำตายเป็นอุบัติเหตุที่ผู้เกี่ยวข้องกับเด็กไม่ให้ความสนใจศึกษาสาเหตุ และสร้างมาตรการป้องกัน ทั้งนี้อุบัติเหตุการจมน้ำมีในทุกกลุ่มอายุของเด็ก ตั้งแต่เด็กปฐมวัยถึงเด็กวัยรุ่น และอัตราการตายมีสถิติสูงกว่าอุบัติเหตุอื่นๆ ซึ่งส่วนใหญ่มีสาเหตุมาจากสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการเล่นน้ำของเด็ก เช่น อากาศร้อน สามารถเข้าถึงแหล่งน้ำธรรมชาติได้ง่าย และไม่มีผู้ดูแล อีกหนึ่งสาเหตุคือพฤติกรรมการเล่นน้ำของเด็กๆ การป้องกันตนเอง และไม่มีทักษะในการช่วยเหลือหรือเอาชีวิตรอดเมื่อเกิดเหตุการณ์ตกน้ำ จากการจมน้ำ ปลูกฝังให้เด็กรู้จักการ อย่าใกล้ อย่าเก็บ อย่าก้ม และรู้จักการตะโกน โยน ยื่น เพื่อให้เด็กรู้จักวิธีป้องกันตนเองสามารถแก้ไขปัญหาเมื่อต้องพบกับเหตุการณ์จริงจากพื้นที่เสี่ยงต่อการตกน้ำ จมน้ำ เป็นสิ่งสำคัญที่จะช่วยให้เด็กมีชีวิตรอดเมื่อเกิดเหตุการณ์จริงได้ ดังนั้นศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านเขาวิเศษ จึงได้จัดทำโครงการให้ความรู้แก่ผู้ปกครองเรื่องการป้องกันอุบัติเหตุจากการจมน้ำในเด็กปฐมวัย และการปฏิบัติให้ถูกกฎจราจรบนท้องถนน เพื่อปลูกจิตสำนึกและเปลี่ยนพฤติกรรมให้เด็กไทยสวมหมวกกันน็อกจนเป็นนิสัย เพื่อลดความเสี่ยงและความรุนแรงจากอุบัติเหตุทางถนนให้เหลือน้อยที่สุด โดยมุ่งเน้นดำเนินการป้องกันและแก้ไขปัญหาที่สำคัญคือ ให้ความรู้ความเข้าใจ ปลูกฝังจิตสำนึกความปลอดภัยให้เหมาะสมกับวัย เพื่อเป็นการสร้าง ภูมิคุ้มกันความเสี่ยงในการดำเนินชีวิตทั้งปัจจุบันและอนาคต ที่จะแก้ปัญหาอุบัติเหตุทางถนนได้อย่างตรงจุด คือ การให้ความรู้ควบคู่ไปกับความบันเทิงซึ่งไม่เพียงแต่เด็กและเท่านั้นที่จะได้รับความรู้ ผู้ปกครอง และครู ก็จะได้รับความรู้พร้อมกันไปด้วย

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ผู้ปกครอง เด็กนักเรียน ครู มีความรู้ความเข้าใจด้านความปลอดภัยจากอุบัติเหตุบนท้องถนนและอุบัติเหตุทางน้ำ
  2. เพื่อให้ผู้ปกครอง เด็กนักเรียน ครู สามารถนำความรู้ความเข้าใจด้านความปลอดภัยจากอุบัติเหตุบนท้องถนนและอุบัติเหตุทางน้ำจากการอบรมไปดูแลและปลูกฝังให้เด็กนักเรียนปฏิบัติตามได้

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมอบรมให้ความรู้ความเข้าใจด้านความปลอดภัยเรื่่องการป้องกันอุบัติเหตุจากการจมน้ำและการปฏิบัติให้ถูกกฎจราจรบนท้องถนน
  2. กิจกรรมสาธิตสวมหมวกนิรภัยปลอดภัยใส่ใจสุขภาพและะกิจกรรมสาธิตการช่วยเหลือเด็กจมน้ำ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 25
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 25
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ผู้ปกครอง เด็กนักเรียน ครู มีความรู้ความเข้าใจด้านความปลอดภัยจากอุบัติเหตุบนท้องถนนและอุบัติเหตุทางน้ำ 2.ผู้ปกครอง เด็กนักเรียน ครู สามารถนำความรู้ความเข้าใจด้านความปลอดภัยจากอุบัติเหตุบนท้องถนนและอุบัติเหตุทางน้ำจากการอบรมไปดูแลและปลูกฝังให้เด็กนักเรียนปฏิบัติตามได้


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ผู้ปกครอง เด็กนักเรียน ครู มีความรู้ความเข้าใจด้านความปลอดภัยจากอุบัติเหตุบนท้องถนนและอุบัติเหตุทางน้ำ
ตัวชี้วัด : ผู้ปกครอง เด็กนักเรียน ครู มีความรู้ความเข้าใจด้านความปลอดภัยจากอุบัติเหตุบนท้องถนนและอุบัติเหตุทางน้ำ ร้อยละ 80
10.00 4.00

 

2 เพื่อให้ผู้ปกครอง เด็กนักเรียน ครู สามารถนำความรู้ความเข้าใจด้านความปลอดภัยจากอุบัติเหตุบนท้องถนนและอุบัติเหตุทางน้ำจากการอบรมไปดูแลและปลูกฝังให้เด็กนักเรียนปฏิบัติตามได้
ตัวชี้วัด : ผู้ปกครอง เด็กนักเรียน ครู สามารถนำความรู้ความเข้าใจด้านความปลอดภัยจากอุบัติเหตุบนท้องถนนและอุบัติเหตุทางน้ำจากการอบรมไปดูแลและปลูกฝังให้เด็กนักเรียนปฏิบัติตามได้ ร้อยละ 80
10.00 5.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 50
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 25
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 25
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้ปกครอง เด็กนักเรียน ครู มีความรู้ความเข้าใจด้านความปลอดภัยจากอุบัติเหตุบนท้องถนนและอุบัติเหตุทางน้ำ (2) เพื่อให้ผู้ปกครอง เด็กนักเรียน ครู สามารถนำความรู้ความเข้าใจด้านความปลอดภัยจากอุบัติเหตุบนท้องถนนและอุบัติเหตุทางน้ำจากการอบรมไปดูแลและปลูกฝังให้เด็กนักเรียนปฏิบัติตามได้

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมอบรมให้ความรู้ความเข้าใจด้านความปลอดภัยเรื่่องการป้องกันอุบัติเหตุจากการจมน้ำและการปฏิบัติให้ถูกกฎจราจรบนท้องถนน (2) กิจกรรมสาธิตสวมหมวกนิรภัยปลอดภัยใส่ใจสุขภาพและะกิจกรรมสาธิตการช่วยเหลือเด็กจมน้ำ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการหนูน้อยปลอดภัย ห่างไกลอุบัติเหตุ จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 67-L2543-3-16

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางปิยนันท์ รักชน )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด