กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กำแพง


“ เด็กกำแพงวิทยาไร้พุง ”

องค์การบริหารส่วนตำบลกำแพง

หัวหน้าโครงการ
นางสาวจารี วุฒิมานพ

ชื่อโครงการ เด็กกำแพงวิทยาไร้พุง

ที่อยู่ องค์การบริหารส่วนตำบลกำแพง จังหวัด

รหัสโครงการ 2567-L8010-2-01 เลขที่ข้อตกลง 04/2567

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2567 ถึง 30 กันยายน 2567


กิตติกรรมประกาศ

"เด็กกำแพงวิทยาไร้พุง จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน องค์การบริหารส่วนตำบลกำแพง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กำแพง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
เด็กกำแพงวิทยาไร้พุง



บทคัดย่อ

โครงการ " เด็กกำแพงวิทยาไร้พุง " ดำเนินการในพื้นที่ องค์การบริหารส่วนตำบลกำแพง รหัสโครงการ 2567-L8010-2-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 47,450.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กำแพง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ประเทศไทยกำลังเผชิญกับปัญหาเด็กอ้วนที่มีแนวโน้มเพิ่มขึ้น โดยศูนย์เฝ้าระวังและเตือนภัยพฤติกรรมสุขภาพกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ พบว่า ในปีพ.ศ. 2559-2563 มีเด็กอ้วนเพิ่มขึ้นปีละ 4 ล้านคนสอดคล้องกับสถานการณ์ภาวะโภชนาการของเด็กไทยในฐานข้อมูลกระทรวงสาธารณสุข พ.ศ. 2560-2564 พบเด็กอ้วนสูงกว่าค่าเป้าหมายที่กระทรวงสาธารณสุขกำหนดไว้และมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง รวมไปถึงเด็กสูงสมส่วน ยังต่ำกว่าค่าเป้าหมายและมีแนวโน้มลดลงอย่างต่อเนื่อง และเด็กเตี้ยสูงกว่าค่าเป้าหมายอย่างต่อเนื่อง
ปัจจุบันภาวะน้ำหนักเกินและโรคอ้วนเป็นภัยคุกคามภาวะสุขภาพอนามัยของเด็กไทย ซึ่งเป็นผลมาจากพฤติกรรมการดำเนินชีวิตที่เปลี่ยนไปตามภาวะเศรษฐกิจและสังคม ทำให้วิถีชีวิตคนไทยเปลี่ยนสู่ความเป็นสังคมเมืองที่เต็มไปด้วยความเร่งรีบ การเปลี่ยนแปลงดังกล่าวมีผลกระทบต่อการบริโภคอาหารของครอบครัวและเด็กในวัยเรียนเป็นอย่างมาก การบริโภคอาหารที่ต้องอาศัยความรวดเร็วเพื่อความสะดวกต่อการดำรงชีวิตทำให้เกิดค่านิยมใหม่ในเรื่องการบริโรคอาหารประเภทอาหารจานด่วน อาหารสำเร็จรูป อาหารกึ่งสำเร็จรรูป เข้ามามีบทบาทอย่างยิ่ง โดยเฉพาะกับเด็กวัยเรียน ซึ่งอาหารประเภทนี้จะมีแป้ง น้ำตาล และไขมันสูง รวมทั้งความเจริญก้าวหน้าทางเทคโนโลยีทันสมัย ทำให้เด็กวัยเรียนมีการเคลื่อนไหวร่างกายน้อยลง เป็นสาเหตุทำให้เกิดโรคอ้วน ซึ่งถือเป็นเรื่องใกล้ตัวที่ทุกฝ่ายควรใส่ใจและแก้ไขปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกันอย่าง
จริงจัง จากการสํารวจข้อมูลสถานการณ์ปัญหาโรคอ้วนในเด็กไทยพบว่าเด็กไทยทุก ๆ ๕ คน ที่เป็นโรคอ้วน กลายเป็นกลุ่มเสี่ยงต่อการเป็นโรคต่าง ๆ เช่น โรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน โรคหืดหอบ โรคภูมิแพ้ โรคมะเร็งและโรคหัวใจ เป็นต้น ยิ่งไปกว่านั้นเด็กหญิงที่มีภาวะอ้วนจะเข้าสู่วัยรุ่นเร็วกว่าปกติ ประจำเดือนจะมาเร็วและกระดูกปิดเร็ว ทําให้สูงได้ไม่เต็มศักยภาพ จึงน่าเป็นห่วงว่าเด็กไทยรุ่นใหม่จะเตี้ยลงเรื่อย ๆ นอกจากนี้ภาวะโรคอ้วนยังมีผลกระทบต่อการเรียนของเด็กไทยอีกด้วยโดยพบว่าเด็กอ้วนส่วนมากมักมีปมด้อยจากรูปร่างของตัวเองและมักถูกเพื่อนๆ ล้อ ทําให้ไม่อยากไปโรงเรียนเบื่อหน่ายการเรียน ส่งผลให้การเรียนไม่ดีได้ จากข้อมูลในระบบ DMC (Data Management Center) พบว่านักเรียนชั้น ม.1 - ม.2 ทั้งหมดจำนวน 772 คน มีนักเรียนที่มีภาวะเริ่มอ้วนและอ้วนทั้งหมด 82 คน คิดเป็น 10.62% ดังนั้น โรงเรียนกำแพงวิทยา จึงดําเนินโครงการเด็กกำแพงวิทยาไร้พุงขึ้น เพื่อให้นักเรียนที่มีภาวะอ้วนและเริ่มอ้วนได้ตระหนักและเข้าใจถึงปัญหาสุขภาพจากโรคอ้วนและร่วมมือแก้ไขปัญหาภาวะอ้วนส่งผลให้ให้นักเรียนที่มีภาวะโภชนาการเกินและโรคอ้วน สามารถดูแลป้องกันรักษาสุขภาพ มีพฤติกรรมการบริโภคอาหารที่ดีเหมาะสมกับวัย เติบโตอย่างเต็มศักยภาพ มีสุขภาพร่างกายที่แข็งแรงสมบูรณ์ เรียนรู้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถนำความรู้ที่ได้จากกิจกรรมไปใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อตนเองและคนรอบข้างได้รวมทั้งมีคุณภาพชีวิตที่ดีต่อไปในอนาคตเพื่อเป็นกําลังสําคัญที่จะพัฒนาประเทศชาติสืบไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ ทักษะ และเจตคติที่ดีในการดูแลสุขภาพ การออกกําลังกาย การบริโภคอาหาร

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. คัดกรองประเมินภาวะสุขภาพกลุ่มเด็กที่มีภาวะทุพโภชนาการเกินเกณฑ์ (โรคอ้วน) ในนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1-2
  2. ประชุมชี้แจงแนวทางการดําเนินกิจกรรมเด็กกำแพงวิทยาไร้พุงในกลุ่มผู้ปกครองและนักเรียนกลุ่มเป้าหมายที่มีภาวะอ้วน และจัดอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับภาวะทุพโภชนการเกินเกณฑ์ (โรคอ้วน)
  3. กิจกรรมเด็กไทยไร้พุง
  4. ติดตามประเมินผลเด็กกำแพงไร้พุง
  5. สรุปผลและมอบเกียรติบัตรแก่นักเรียนที่เข้าร่วมการอบรม
  6. จัดทำรูปเล่มรายงานผล

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 82
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผู้ปกครองนักเรียน 82

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจ เรื่องภาวะทุพโภชนาการน้ำหนักเกินเกณฑ์ (โรคอ้วน)
  2. ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ในการเลือกรับประทานอาหาร ผักผลไม้ที่มีประโยชน์ และปริมาณเหมาะสมกับร่างกาย
  3. นักเรียนโรงเรียนกำแพงวิทยามีภาวะสุขภาพที่เหมาะสมตามวัย

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ ทักษะ และเจตคติที่ดีในการดูแลสุขภาพ การออกกําลังกาย การบริโภคอาหาร
ตัวชี้วัด : 1. ร้อยละ 90 นักเรียนมีความรู้ ทักษะ และเจตคติที่ดีในการดูแลสุขภาพ การออกกําลังกาย การบริโภคอาหารเพิ่มขึ้น 2. ร้อยละ 60 นักเรียนที่เข้าร่วมกิจกรรม มีค่าดัชนีมวลกายลดลง
60.00 90.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 164
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 82
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 0
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -
ผู้ปกครองนักเรียน 82

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ ทักษะ และเจตคติที่ดีในการดูแลสุขภาพ การออกกําลังกาย การบริโภคอาหาร

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) คัดกรองประเมินภาวะสุขภาพกลุ่มเด็กที่มีภาวะทุพโภชนาการเกินเกณฑ์ (โรคอ้วน) ในนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1-2 (2) ประชุมชี้แจงแนวทางการดําเนินกิจกรรมเด็กกำแพงวิทยาไร้พุงในกลุ่มผู้ปกครองและนักเรียนกลุ่มเป้าหมายที่มีภาวะอ้วน และจัดอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับภาวะทุพโภชนการเกินเกณฑ์ (โรคอ้วน) (3) กิจกรรมเด็กไทยไร้พุง (4) ติดตามประเมินผลเด็กกำแพงไร้พุง (5) สรุปผลและมอบเกียรติบัตรแก่นักเรียนที่เข้าร่วมการอบรม (6) จัดทำรูปเล่มรายงานผล

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


เด็กกำแพงวิทยาไร้พุง จังหวัด

รหัสโครงการ 2567-L8010-2-01

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวจารี วุฒิมานพ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด