กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลลำสินธุ์


“ โครงการคัดกรองโรคไม่ติดต่อเรื้อรังเชิงรุกในชุมชน ปี 2567 ”

ตำบลลำสินธุ์ อำเภอศรีนครินทร์ จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นางอำภร รอดบัวทอง

ชื่อโครงการ โครงการคัดกรองโรคไม่ติดต่อเรื้อรังเชิงรุกในชุมชน ปี 2567

ที่อยู่ ตำบลลำสินธุ์ อำเภอศรีนครินทร์ จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 01 เลขที่ข้อตกลง L3364-01-01

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 15 มีนาคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการคัดกรองโรคไม่ติดต่อเรื้อรังเชิงรุกในชุมชน ปี 2567 จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลลำสินธุ์ อำเภอศรีนครินทร์ จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลลำสินธุ์ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการคัดกรองโรคไม่ติดต่อเรื้อรังเชิงรุกในชุมชน ปี 2567



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการคัดกรองโรคไม่ติดต่อเรื้อรังเชิงรุกในชุมชน ปี 2567 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลลำสินธุ์ อำเภอศรีนครินทร์ จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 15 มีนาคม 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 53,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลลำสินธุ์ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ภัยเงียบของโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน รวมทั้งโรคในระบบหัวใจและหลอดเลือด ได้คุกคามชีวิตของคนไทยจำนวนมาก ซึ่งเป็นสาเหตุของการป่วย พิการ และเสียชีวิต ตลอดจนเป็นภาระต่องบประมาณด้านการดูแลสุขภาพของคนไทยที่เพิ่มมากขึ้นในอนาคตดังจะเห็นได้จากสถานบริการสาธารณสุขทั้งของภาครัฐ เอกชน และสถานบริการทุกระดับตั้งแต่ปฐมภูมิ ทุติยภูมิและตติยภูมิ ต่างแออัดไปด้วยผู้ป่วยด้วยโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง ส่งผลให้งบประมาณที่รัฐจัดสรรให้สำหรับโครงการประกันสุขภาพถ้วนหน้าตามรายหัวประชากรจะต้องเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องเพื่อให้เพียงพอต่อการใช้จ่ายด้านยา บุคลากร การจัดสถานที่และเครื่องมือแพทย์ต่าง ๆ ในขณะที่งบประมาณของประเทศมีอยู่อย่างจำกัด กระทรวงสาธารณสุขและสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ จึงมีมาตรการเชิงรุกในการป้องกันและแก้ไขปัญหาโรคดังกล่าวโดยมีการคัดกรองพฤติกรรมเสี่ยงต่อการเกิดโรค ทั้งแบบสอบถามด้วยวาจา วัดความดันโลหิต การวัดรอบเอว และการเจาะเลือดหาน้ำตาลในเลือดโดยมีเป้าหมายประชากรกลุ่มอายุ 35 ปีขึ้นไปทุกราย ต้องได้รับการตรวจคัดกรองความเสี่ยงต่อการโรคเพื่อค้นหาพฤติกรรมเสี่ยงและค้นหาโรคในระยะเริ่มต้นเพื่อที่จะมีการดำเนินการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสี่ยง โดยมีเป้าหมายกลุ่มเสี่ยงต้องได้รับความรู้และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 รวมทั้งกลุ่มที่สงสัยจะเป็นโรคต้องส่งไปรับการรักษาตั้งแต่เริ่มแรกทุกราย อันจะส่งผลให้ลดความรุนแรงของโรคในรายที่ป่วยแล้วลดลง จากการดำเนินงานเมื่อปี งบประมาณ 2566 พบว่ากลุ่มเป้าหมาย 35 ปีขึ้นไป จำนวน 2,645 คน ได้รับการคัดกรอง จำนวน 2,473 คน คิดเป็น 93.49 % และพบว่าเสี่ยงต่อการเกิดโรคเบาหวาน 438 คน คิดเป็นร้อยละ 17.71นัดเจาะเลือดซ้ำที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านลำสินธุ์ ทุก 1 เดือน จำนวน 205 คน ทุก 3 เดือน จำนวน 117 คน ทุก 6 เดือน จำนวน98 คน โดยได้ส่งต่อพบแพทย์เพื่อวินิจฉัยและตรวจชันสูตรต่อ จำนวน35 คน แพทย์ระบุว่าป่วยเป็นโรค เบาหวานจำนวน23คน และนัดคัดกรองซ้ำทุก 1 เดือนที่โรงพยาบาลศรีนครินทร์ จำนวน 39 คนจำนวนผู้ได้รับการคัดกรองมีความเสี่ยงต่อการเกิดโรคความดันโลหิตสูง จำนวน 745คน นัดวัดความดันโลหิตซ้ำทุก 1 เดือน จำนวน 533 คน ส่งต่อพบแพทย์ จำนวน219 คนโดยแพทย์วินิจฉัยว่าป่วยเป็นโรคความดันโลหิตสูง จำนวน 45 คน นัดซ้ำทุก 1 เดือน98 ราย นัดทุก 3 เดือน จำนวน42 ราย นัดทุก 6 เดือน จำนวน68 ราย และยังมีผู้ที่ไม่ได้รับการตรวจคัดกรองในพื้นที่ แต่ไปตรวจคัดกรองที่คลินิกและโรงพยาบาลเอกชน 68 ราย จากปัญหาดังกล่าว โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านลำสินธุ์ จึงได้จัดทำโครงการดังกล่าว เพื่อค้นหาโรคดังกล่าว ให้พบโรคและส่งต่อผู้ป่วยให้ได้รับการรักษาอย่างทันท่วงทีเพื่อลดความรุนแรงของการเกิดโรค

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อแก้ปัญหาประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน
  2. เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ประชุมคณะทำงาน
  2. คัดกรองกลุ่มเสี่ยงด้วยวาจาและคัดกรองกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง
  3. อบรมให้ความรู้และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยง รุ่นที่ 1
  4. อบรมให้ความรู้และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยง รุ่นที่ 2
  5. สรุปกิจกรรมการดำเนินงานของโครงการ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 3,856
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ประชาชนที่ป่วยด้วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงได้รับการรักษา 100%
  2. ประชาชนกลุ่มเสี่ยงได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ร้อยละ 90
  3. ประชาชนได้รับการเฝ้าระวังและคัดกรองโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง ร้อยละ 90
    1. ผู้ป่วยโรคเรื้อรังรายใหม่ลดลงร้อยละ 40

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อแก้ปัญหาประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน
ตัวชี้วัด : ร้อยละของประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวานลดลง
17.71 15.00

 

2 เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง
ตัวชี้วัด : ร้อยละประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูงลดลง
28.65 25.12

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 3856
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 0
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 3,856
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อแก้ปัญหาประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน (2) เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมคณะทำงาน (2) คัดกรองกลุ่มเสี่ยงด้วยวาจาและคัดกรองกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง (3) อบรมให้ความรู้และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยง รุ่นที่ 1 (4) อบรมให้ความรู้และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยง รุ่นที่ 2 (5) สรุปกิจกรรมการดำเนินงานของโครงการ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการคัดกรองโรคไม่ติดต่อเรื้อรังเชิงรุกในชุมชน ปี 2567 จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 01

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางอำภร รอดบัวทอง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด