กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งนุ้ย


“ โครงการทันตกรรมเชิงรุก Smart Children ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2567 ”

ตำบลทุ่งนุ้ย อำเภอควนกาหลง จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
นายอารีย์ ยูฮันนัน

ชื่อโครงการ โครงการทันตกรรมเชิงรุก Smart Children ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2567

ที่อยู่ ตำบลทุ่งนุ้ย อำเภอควนกาหลง จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 67-L5281-3-01 เลขที่ข้อตกลง 6/2567

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ธันวาคม 2566 ถึง 31 มีนาคม 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการทันตกรรมเชิงรุก Smart Children ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2567 จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลทุ่งนุ้ย อำเภอควนกาหลง จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งนุ้ย ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการทันตกรรมเชิงรุก Smart Children ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2567



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการทันตกรรมเชิงรุก Smart Children ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2567 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลทุ่งนุ้ย อำเภอควนกาหลง จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 67-L5281-3-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ธันวาคม 2566 - 31 มีนาคม 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 45,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งนุ้ย เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

สืบเนื่องจากองค์การบริหารส่วนตำบลทุ่งนุ้ย ได้ดำเนินงานร่วมกับโรงพยาบาลควนกาหลง ในการดำเนินงานโครงการทันตกรรมเชิงรุก Smart Children และผลการตรวจฟันเด็กส่วนใหญ่ ยังมีฟันผุลุกลามที่จำเป็นต้องทำการรักษาต่อเนื่อง ซึ่งไม่สามารถอุดโดยวิธี Smart ได้ จำเป็นต้องได้รับการรักษา ในสถานพยาบาลหรือโรงพยาบาลใกล้บ้าน จึงจำเป็นอย่างยิ่งที่ต้องได้รับการป้องกันการผุลุกลามของฟัน เพื่อให้เด็กปฐมวัย  ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กตำบลทุ่งนุ้ยได้เข้าถึงบริการทันตกรรม ได้รับป้องกันการผุลุกลาม และมีอัตราการผุของฟันลดลงอย่างต่อเนื่อง กองการศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม และกลุ่มงานทันตกรรม โรงพยาบาลควนกาหลง จึงได้ประสานความร่วมมือ เพื่อดำเนินงานโครงการทันตกรรมเชิงรุก Smart Children ประจำปีการศึกษา 2567 ขึ้น เพื่อมิให้เด็กปฐมวัย  ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก มีภาวะการผุของฟันลุกลามจนทำให้เกิดเป็นปัญหาที่ส่งผลต่อพัฒนาการ และสุขภาพช่องปากของเด็ก โดยการดำเนินการในปีงบประมาณ พ.ศ. 2567 จัดขึ้น และจะดำเนินการเสนอโครงการต่อเนื่องเป็นประจำทุกปี     สำหรับการบูรณะฟันในเด็กปฐมวัย จะใช้เทคนิคการอุดฟันที่คิดค้นเพื่อใช้ในการบูรณะฟันกรณีที่ไม่สามารถจัดบริการรักษาแบบปกติได้ โดยทันตบุคลากรไม่ต้องได้รับการฝึกฝนมากนัก เป็นลักษณะของการให้บริการทันตกรรมเชิงรุกสามารถดำเนินการในชุมชนได้ โดยที่ไม่จำเป็นต้องใช้เครื่องมือที่ทันสมัย เทคนิคดังกล่าวนี้ ได้มีการพัฒนาวัสดุทางทันตกรรมที่ชื่อว่า กลาสไอโอโนเมอร์ ซีเมนต์ ที่มีคุณสมบัติที่ดีมีการปลดปล่อยฟลูออไรด์ในปริมาณที่สูง ซึ่งฟลูออไรด์ที่ปลดปล่อยออกมาก็มีคุณสมบัติในการต่อต้านเชื้อแบคทีเรีย เพิ่มการคืนกลับของแร่ธาตุ มีความสำคัญต่อการควบคุมการเกิดฟันผุหรือป้องการเกิดฟันผุซ้ำ ซึ่งเรียกว่า วิธีอุดฟันอย่างง่าย SMART (Simplified Modified Atraumatic Restoration Technique)

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อบริการทันตกรรมให้แก่เด็กปฐมวัยที่มีปัญหาสุขภาพฟัน
  2. เพื่อหยุดการลุกลามของภาวะฟันผุ ในเด็กปฐมวัยที่มีปัญหาสุขภาพฟัน
  3. เพื่อให้เด็กปฐมวัยที่มีปัญหาสุขภาพฟัน มีสุขภาพช่องปากที่ดีไม่เป็นอุปสรรคต่อพัฒนาการในแต่ละช่วงวัย
  4. เพื่อให้เด็กได้เรียนรู้วิธีการแปลงฟันที่ถูกต้อง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ทันตกรรมเชิงรุก Smart Children

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 224
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. เด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก สังกัดองค์การบริหารส่วนตำบลทุ่งนุ้ย ที่มีภาวะฟันผุจะได้รับบริการทันตกรรม ได้แก่ การเคลือบหลุมร่องฟัน การอุดฟันด้วยวิธี SMART
  2. เด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก สังกัดองค์การบริหารส่วนตำบลทุ่งนุ้ย ที่มีภาวะฟันผุที่สามารถอุดได้จะได้รับบริการอุดฟันทุกคน
  3. เด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก สังกัดองค์การบริหารส่วนตำบลทุ่งนุ้ย ที่มีภาวะฟันผุจะมีสุขภาพช่องปากที่ดี ขึ้นไม่เป็นอุปสรรคต่อพัฒนาการในแต่ละช่วงวัย
  4. เด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก สังกัดองค์การบริหารส่วนตำบลทุ่งนุ้ย รู้วิธีการแปรงฟันที่ถูกวิธี

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อบริการทันตกรรมให้แก่เด็กปฐมวัยที่มีปัญหาสุขภาพฟัน
ตัวชี้วัด : เด็กได้รับการแก้ปัญหาเรื่องสุขภาพฟัน

 

2 เพื่อหยุดการลุกลามของภาวะฟันผุ ในเด็กปฐมวัยที่มีปัญหาสุขภาพฟัน
ตัวชี้วัด : ทำให้ฟันของเด็กลดการผุ หยุดการลุกลามของฟันผุ

 

3 เพื่อให้เด็กปฐมวัยที่มีปัญหาสุขภาพฟัน มีสุขภาพช่องปากที่ดีไม่เป็นอุปสรรคต่อพัฒนาการในแต่ละช่วงวัย
ตัวชี้วัด : เด็กปฐมวัยได้เจริญเติบโตตามวัย

 

4 เพื่อให้เด็กได้เรียนรู้วิธีการแปลงฟันที่ถูกต้อง
ตัวชี้วัด : เด็กปฐมวัยได้แปลงฟันอย่างถูกวิธี

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 224
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 224
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อบริการทันตกรรมให้แก่เด็กปฐมวัยที่มีปัญหาสุขภาพฟัน (2) เพื่อหยุดการลุกลามของภาวะฟันผุ  ในเด็กปฐมวัยที่มีปัญหาสุขภาพฟัน (3) เพื่อให้เด็กปฐมวัยที่มีปัญหาสุขภาพฟัน มีสุขภาพช่องปากที่ดีไม่เป็นอุปสรรคต่อพัฒนาการในแต่ละช่วงวัย (4) เพื่อให้เด็กได้เรียนรู้วิธีการแปลงฟันที่ถูกต้อง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ทันตกรรมเชิงรุก Smart Children

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการทันตกรรมเชิงรุก Smart Children ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2567 จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 67-L5281-3-01

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายอารีย์ ยูฮันนัน )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด