กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.มะรือโบออก


“ โครงการพัฒนาการสมวัย สูงดี สมส่วน ภูมิคุ้มกันโรคครบตามเกณฑ์ ปี 2567 ”

ตำบลมะรือโบออก อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นายดานิช ดิงปาเนาะ

ชื่อโครงการ โครงการพัฒนาการสมวัย สูงดี สมส่วน ภูมิคุ้มกันโรคครบตามเกณฑ์ ปี 2567

ที่อยู่ ตำบลมะรือโบออก อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 67-L2480-1-03 เลขที่ข้อตกลง 8/2567

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2566 ถึง 30 กันยายน 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการพัฒนาการสมวัย สูงดี สมส่วน ภูมิคุ้มกันโรคครบตามเกณฑ์ ปี 2567 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลมะรือโบออก อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.มะรือโบออก ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการพัฒนาการสมวัย สูงดี สมส่วน ภูมิคุ้มกันโรคครบตามเกณฑ์ ปี 2567



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการพัฒนาการสมวัย สูงดี สมส่วน ภูมิคุ้มกันโรคครบตามเกณฑ์ ปี 2567 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลมะรือโบออก อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 67-L2480-1-03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2566 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 17,570.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.มะรือโบออก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

หลักการและเหตุผล (ระบุที่มาของการทำโครงการ) ทุกคนอยากมีสุขภาพดี ไม่เจ็บป่วย ซึ่งการดูแลสุขภาพเป็นสิ่งจำเป็นอย่างยิ่งที่จะทำให้มีสุขภาพดี ไม่ว่าจะเป็นการกินอาหารถูกต้อง เหมาะสม และพอเพียงจะทำให้มีโภชนาการที่ดี และนำไปสู่การมีสุขภาพดีมีพัฒนาการที่สมวัย รวมทั้งการได้รับภูมิคุ้มกันด้านต่างๆล้วนเป็นสิ่งสำคัญ โดยเฉพาะในเด็กวัยก่อนเรียน ๐-๕ ปี เป็นวัยที่อยู่ในระยะสำคัญของชีวิต เป็นวัยรากฐานของพัฒนาการ การเจริญเติบโตทั้งร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคมและสติปัญญา จึงเป็นวัยที่สำคัญ เหมาะสมที่สุดในการวางพื้นฐาน เพื่อยกระดับการพัฒนาคุณภาพชีวิต โดยเฉพาะในระยะ ๒ ปี แรกของชีวิต เป็นระยะที่ร่างกายและสมอง มีการเจริญเติบโตอย่างรวดเร็วจำเป็นต้องได้รับการเลี้ยงดูที่ดีที่สุด เพื่อส่งเสริมพัฒนาการรอบด้าน อาหารและโภชนาการที่ดี เป็นปัจจัยที่มีคามสำคัญต่อการเจริญเติบโตพัฒนาขอเด็กวัยก่อนเรียน ปัญหาสุขภาพทางด้านสุขภาพที่พบบ่อยในเด็กวัยนี้ ได้แก่ ภาวการณ์เจริญเติบโตไม่สมวัย จากโรคขาดสารอาหาร ภาวะโภชนาการเกิน การขาดพฤติกรรมการเลี้ยงดูที่ไม่เหมาะสม การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ลดลง การให้อาหารตามวัยแก่เด็กเร็วเกินไปและไม่ถูกต้อง อีกทั้งไม่ตระหนักเท่าที่ควร จากสถาณการณ์ดังกล่าว ทางรพ.สต.มะรือโบออก ได้มีการประเมินผลสุขภาพเด็กก่อนวัยเรียน (๐-๕ ปี) จากเด็กทั้งหมด ๔๘๙ คน จะพบว่าพื้นที่เขตรพ.สต.มะรือโบออก อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส ในปีที่ผ่านมา มีเด็กอายุ 0-5 ปีได้รับวัคซีนครบชุดตามเกณฑ์อายุน้อยกว่าร้อยละ 95 เด็กได้รับการประเมินคัดกรองพัฒนาการ คิด เป็นร้อยละ ๙๕.๕๖ (เกณฑ์ได้รับ ๑๐๐ %)รวมทั้งมีภาวะโภชนาการสูงดีสมส่วน น้อยกว่าเกณฑ์ที่กำหนด
ดังนั้นรพ.สต.มะรือโบออกได้เล็งเห็นถึงความสำคัญของสุขภาพในเด็กก่อนวัยเรียน เพื่อให้เด็กมีสุขภาพสมบูรณ์แข็งแรง มีการเจริญเติบโตของสมองและร่างกายเหมาะสมตามวัย เติบโตเป็นทรัพยากรบุคคลที่มีคุณค่า และเป็นอนาคตที่สำคัญของประเทศชาติต่อไป จึงได้จัดทำโครงการพัฒนาการสมวัย สูงดีสมส่วน ภูมิคุ้มกันโรคครบตามเกณฑ์ปี ๒๕๖๗

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อให้ผู้ปกครองของเด็ก ๐-๕ ปี มีความรู้ความเข้าในการดูแลสุขภาพเด็ก
  2. 2.เพื่อให้เด็กมีพัฒนาการสมวัย
  3. ๓.เพื่อปรับเปลี่ยนทัศนคติที่ไม่ดีเกี่ยวกับวัคซีนในชุมชน
  4. ๔.เพื่อให้เด็ก ๐-๕ ปี มีภาวะโภชนาการสูงดีสมส่วน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมที่ 1 อบรมให้ความรู้และจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ผู้ปกครองเด็ก 0 – 5 ปี
  2. กิจกรรมที่ ๒ สาธิตการตรวจคัดกรองพัฒนาการเด็ก
  3. กิจกรรมที่ ๓ ติดตาม/เยี่ยมบ้าน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 67
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

๑. ผู้ปกครองเด็กมีความรู้ความเข้าใจและให้ความสำคัญกับการดูแลสุขภาพของเด็ก ๓. เด็ก ๐-๕ ปี ในเขตตำบลมะรือโบออกได้รับวัคซีนขั้นพื้นฐาน ร้อยละ ๙๐ ๔. ช่วยลดการเกิดปัญหาทางสุขภาพของชุมชนในอนาคต ๕. เด็กที่ขาดวัคซีนได้รับการเยี่ยมบ้าน/ติดตาม ๖. เด็ก ๐-๕ ปี มีภาวะโภชนาการสูงดีสมส่วน


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1.เพื่อให้ผู้ปกครองของเด็ก ๐-๕ ปี มีความรู้ความเข้าในการดูแลสุขภาพเด็ก
ตัวชี้วัด : 1. ร้อยละ ๘๐ ของผู้ปกครองเด็ก ๐-๕ ปีที่เข้าร่วมอบรม มีความรู้ความเข้าในการดูแลสุขภาพเด็กทั้ง ๔ ด้าน
80.00 80.00

 

2 2.เพื่อให้เด็กมีพัฒนาการสมวัย
ตัวชี้วัด : 2.ร้อยละ ๘๐ ของเด็ก ๐-๕ ปี ได้รับการประเมินพัฒนาการ
80.00 80.00

 

3 ๓.เพื่อปรับเปลี่ยนทัศนคติที่ไม่ดีเกี่ยวกับวัคซีนในชุมชน
ตัวชี้วัด : ๓.เด็กที่มีอายุครบ 1 ปี 2 ปี 3 ปี และ 5 ปี ได้รับวัคซีนครบชุดตามเกณฑ์อายุ เพิ่มขึ้นจากเดิม ไม่น้อยกว่าร้อยละ 25
25.00 25.00

 

4 ๔.เพื่อให้เด็ก ๐-๕ ปี มีภาวะโภชนาการสูงดีสมส่วน
ตัวชี้วัด : ๔.ร้อยละ ๖๐ ของเด็ก ๐-๕ ปี มีภาวะโภชนาการสูงดีสมส่วน
60.00 60.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 67
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 67
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อให้ผู้ปกครองของเด็ก ๐-๕ ปี มีความรู้ความเข้าในการดูแลสุขภาพเด็ก (2) 2.เพื่อให้เด็กมีพัฒนาการสมวัย (3) ๓.เพื่อปรับเปลี่ยนทัศนคติที่ไม่ดีเกี่ยวกับวัคซีนในชุมชน (4) ๔.เพื่อให้เด็ก ๐-๕ ปี มีภาวะโภชนาการสูงดีสมส่วน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมที่ 1 อบรมให้ความรู้และจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ผู้ปกครองเด็ก 0 – 5 ปี (2) กิจกรรมที่ ๒ สาธิตการตรวจคัดกรองพัฒนาการเด็ก (3) กิจกรรมที่ ๓ ติดตาม/เยี่ยมบ้าน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการพัฒนาการสมวัย สูงดี สมส่วน ภูมิคุ้มกันโรคครบตามเกณฑ์ ปี 2567 จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 67-L2480-1-03

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายดานิช ดิงปาเนาะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด