กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสะเตงนอก


“ โครงการฟันสวย ยิ้มใส ใส่ใจสุขภาพฟัน ปีงบประมาณ 2567 ”



หัวหน้าโครงการ
นางไพลิน โคตรมิตร

ชื่อโครงการ โครงการฟันสวย ยิ้มใส ใส่ใจสุขภาพฟัน ปีงบประมาณ 2567

ที่อยู่ จังหวัด

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง 5

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2567 ถึง 30 สิงหาคม 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการฟันสวย ยิ้มใส ใส่ใจสุขภาพฟัน ปีงบประมาณ 2567 จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสะเตงนอก ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการฟันสวย ยิ้มใส ใส่ใจสุขภาพฟัน ปีงบประมาณ 2567



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการฟันสวย ยิ้มใส ใส่ใจสุขภาพฟัน ปีงบประมาณ 2567 " ดำเนินการในพื้นที่ รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2567 - 30 สิงหาคม 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 56,700.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสะเตงนอก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

จากรายงานผลการสำรวจสภาวะสุขภาพช่องปากแห่งชาติ ครั้งที่ 8 พ.ศ. 2560 พบว่า กลุ่มเด็กอายุ 12 ปี ได้รับการตรวจฟัน ร้อยละ 84.70 มีปัญหาฟันถาวรผุ ร้อยละ 52.00 โดยพบว่ามีฟันผุที่ไม่ได้รับการรักษา ร้อยละ 31.50 มีฟันผุระยะเริ่มต้น ร้อยละ 12.20 เคยปวดฟัน ร้อยละ 36.70 และเคยหยุดเรียนเพราะไปทำฟัน ร้อยละ 12.20มีเพียงร้อยละ 48.00 ปัจจุบันพบว่าเด็กไทยมากกว่าครึ่งหนึ่งมีฟันผุ ซึ่งถ้าไม่ดูแลสุขภาพช่องปากให้ดีรวมถึงพฤติกรรมการบริโภค ปัญหาสุขภาพช่องปากจะสะสมและมีความรุนแรงจนอาจเกิดการสูญเสียฟันถาวรตั้งแต่เด็ก แต่อย่างไรก็ตามจากการสำรวจพบว่า เด็กวัยเรียนมีพฤติกรรมที่พึงประสงค์ ด้านการแปรงฟัน เพียงร้อยละ 9.50 แปรงฟันก่อนนอนทุกวัน ร้อยละ 59.70 และมีพฤติกรรมการบริโภคอาหารเสี่ยง ได้แก่ ดื่มน้ำหวานและน้ำอัดลมมากกว่า 2 ครั้งต่อวัน ร้อยละ 52.00 กินขนมกรุบกรอบ และลูกอม มากกว่า 2 ครั้งต่อวัน ร้อยละ 28.90 และ 21.40 ตามลำดับ (แนวทางการดำเนินงานทันตสาธารณสุข, 2565) การฝึกฝนให้เด็กมีทันตสุขนิสัยที่ดีและการส่งเสริม และป้องกันรวมทั้งการบำบัดรักษาในระยะเริ่มแรกของการเป็นโรคจะช่วยป้องกันและควบคุมโรคในช่องปากของเด็กได้ อาหารเด็กส่วนมากมักบริโภคอาหารที่ไม่มีประโยชน์เช่นขนมขบเคี้ยว ทอฟฟี่ ช็อคโกแลต ขนมหวานต่างๆการที่เด็กทานอาหารเหล่านี้เข้าไปจะทำให้เด็กมีปัญหาเรื่องฟันผุ ซึ่งปัญหานี้มักเกิดขึ้นกับเด็กช่วงวัยเรียนเป็นส่วนมาก การที่จะปลูกฝังให้เด็กรักการแปรงฟันนั้นจึงเป็นสิ่งจำเป็น สิ่งที่จะช่วยให้ปัญหาฟันผุลดน้อยลง และเพื่อเป็นการส่งเสริมทันตสุขภาพและป้องกันฟันผุรวมทั้งยังเป็นการส่งเสริมสุขลักษณะนิสัยที่ดี นอกจากนี้จากการตรวจสุขภาพช่องปากนักเรียนตามระบบเฝ้าระวังทันตสุขภาพของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลสะเตงนอก พบว่า ร้อยละเด็กอายุ 12 ปีมีฟันผุ ในฟันแท้ ตามลำดับ ดังนี้ 43.59, 42.11 และ 40.63 โดยพบว่าอัตราการเกิดโรคฟันผุในช่วง 3 ปีที่ผ่านมาลดลง แต่ยังพบว่าจังหวัดยะลามีค่าฟันผุสูงกว่าค่าเฉลี่ยของประเทศ ดังนั้น ปัญหาเด็กฟันผุยังคงเป็นปัญหาสำคัญ ของจังหวัดยะลาที่ยังต้องดำเนินการแก้ไข ในปีงบประมาณ 2564 - 2566 มีเด็กอายุ 6 – 12 ปี ได้รับการตรวจสุขภาพช่องปาก ร้อยละ 36.83, 16.44 และ 45.67 ตามลำดับ เด็กอายุ 6 - 12 ปี ได้รับบริการทันตกรรม ร้อยละ 47.10, 26.08 และ 39.04 ตามลำดับ (HDC ข้อมูลระบบ 43 แฟ้ม สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดยะลา, 2566) ดังนั้น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลสะเตงนอก ได้เห็นความสำคัญของปัญหาดังกล่าว จึงได้จัดกิจกรรมการส่งเสริมดูแลสุขภาพช่องปากในโครงการฟันสวย ยิ้มใส ใส่ใจสุขภาพฟัน ปีงบประมาณ 2567 ขึ้นเพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้และพฤติกรรมในการดูแลสุขภาพช่องปากที่ถูกต้อง ฝึกทักษะและแปรงฟันที่ถูกวิธี และทำให้เกิดโรคฟันผุน้อยลงจะช่วยลดอัตราการเกิดฟันผุ เหงือกอักเสบในช่องปากและเพื่อค้นหาผู้ที่มีปัญหาสุขภาพช่องปาก เพื่อรับการรักษาหรือส่งต่อผู้ป่วยที่มีปัญหาสุขภาพทางช่องปากต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อส่งเสริมความรู้และทักษะในการดูแลสุขภาพอนามัยช่องปากได้อย่างถูกต้อง
  2. 2. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายแกนนำนักเรียนมีการแปรงฟันด้วยยาสีฟันผสมฟลูออไรด์
  3. 3. เพื่อรักษาหรือส่งต่อผู้ป่วยที่มีปัญหาสุขภาพช่องปาก

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมอบรมให้ความรู้ในกลุ่มแกนนำนักเรียน (โรงเรียนบ้านนิบงพัฒนา)
  2. กิจกรรมอบรมให้ความรู้ในกลุ่มแกนนำนักเรียน (โรงเรียนอิสลาฮียะห์)
  3. กิจกรรมอบรมให้ความรู้ในกลุ่มแกนนำนักเรียน (โรงเรียนญัณญาร์วิทย์)

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 240
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. เพื่อให้กลุ่มแกนนำนักเรียนมีความรู้และความเข้าใจในการดูแลสุขภาพช่องปากที่ถูกต้อง
  2. เด็กวัยเรียนได้ใช้ยาสีฟันที่มีส่วนผสมของฟลูออไรด์เพื่อป้องกันฟันผุ
  3. เพื่อให้ทุกกลุ่มอายุมีการแปรงฟันที่ถูกวิธีและป้องกันฟันผุได้ถูกต้อง

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อส่งเสริมความรู้และทักษะในการดูแลสุขภาพอนามัยช่องปากได้อย่างถูกต้อง
ตัวชี้วัด : เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ ทักษะและการดูแลสุขภาพช่องปากตนเองได้อย่างถูกต้อง ร้อยละ 80
0.00

 

2 2. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายแกนนำนักเรียนมีการแปรงฟันด้วยยาสีฟันผสมฟลูออไรด์
ตัวชี้วัด : เพื่อติดตามและฝึกทักษะการดูแลสุขภาพช่องปากที่ถูกต้องในกลุ่มแกนนำนักเรียน (การแปรงฟันที่ถูกวิธี) หลังรับประทานอาหารกลางวัน ร้อยละ 80
0.00

 

3 3. เพื่อรักษาหรือส่งต่อผู้ป่วยที่มีปัญหาสุขภาพช่องปาก
ตัวชี้วัด : เพื่อรักษาหรือส่งต่อผู้ป่วยที่มีปัญหาสุขภาพช่องปาก ร้อยละ 10
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 240
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 240
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อส่งเสริมความรู้และทักษะในการดูแลสุขภาพอนามัยช่องปากได้อย่างถูกต้อง (2) 2. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายแกนนำนักเรียนมีการแปรงฟันด้วยยาสีฟันผสมฟลูออไรด์ (3) 3. เพื่อรักษาหรือส่งต่อผู้ป่วยที่มีปัญหาสุขภาพช่องปาก

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมอบรมให้ความรู้ในกลุ่มแกนนำนักเรียน (โรงเรียนบ้านนิบงพัฒนา) (2) กิจกรรมอบรมให้ความรู้ในกลุ่มแกนนำนักเรียน (โรงเรียนอิสลาฮียะห์) (3) กิจกรรมอบรมให้ความรู้ในกลุ่มแกนนำนักเรียน (โรงเรียนญัณญาร์วิทย์)

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการฟันสวย ยิ้มใส ใส่ใจสุขภาพฟัน ปีงบประมาณ 2567 จังหวัด

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางไพลิน โคตรมิตร )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด