กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลย่านตาขาว


“ โครงการเข่าดี ก้าวไปด้วยกัน (ด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย) ”

ตำบลย่านตาขาว อำเภอย่านตาขาว จังหวัดตรัง

หัวหน้าโครงการ
นางเพ็ญบุญญา พานิช ตำแหน่งนายแพทย์ชำนาญการ (ด้านเวชกรรม)รักษาการในตำแหน่ง ผู้อำนวยการโรงพยาบาลย่านตาขาว

ชื่อโครงการ โครงการเข่าดี ก้าวไปด้วยกัน (ด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย)

ที่อยู่ ตำบลย่านตาขาว อำเภอย่านตาขาว จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 67-L8291-1-04 เลขที่ข้อตกลง 2/2567

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 20 ธันวาคม 2566 ถึง 30 มีนาคม 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเข่าดี ก้าวไปด้วยกัน (ด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย) จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลย่านตาขาว อำเภอย่านตาขาว จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลย่านตาขาว ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเข่าดี ก้าวไปด้วยกัน (ด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย)



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเข่าดี ก้าวไปด้วยกัน (ด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย) " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลย่านตาขาว อำเภอย่านตาขาว จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 67-L8291-1-04 ระยะเวลาการดำเนินงาน 20 ธันวาคม 2566 - 30 มีนาคม 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 16,310.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลย่านตาขาว เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ประเทศไทยกำลังเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ ประชากรผู้สูงอายุจะเป็นประชากรกลุ่มใหญ่ของประเทศ ปัจจุบันประเทศไทยมีประชากรอายุ 60 ปี ขึ้นไป จำนวน 10.2 ล้านคน คิดเป็นร้อยละ 15.45 ของประชากรทั้งประเทศ วัยสูงอายุเป็นวัยแห่งความเสื่อมของร่างกาย จากการศึกษาภาวะสุขภาพผู้สูงอายุไทย พบว่า ผู้สูงอายุส่วนใหญ่มีปัญหาปวดข้อเข่าถึงร้อยละ 43.9 อาการปวดเข่ามาจากโรคข้อเข่าเสื่อม ซึ่งสอดคล้องกับข้อมูลของสำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ กระทรวงสาธารณสุข พบว่า รองมาจากโรคความดัน โลหิตสูง โรคเบาหวาน ฟันใช้งานน้อยกว่า 20 ซี่ และภาวะซึมเศร้าดังนั้นจะเห็นได้ว่าจำนวนผู้สูงอายุโรค ข้อเข่าเสื่อมมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น และกำลังเป็นปัญหาด้าน สุขภาพในผู้สูงอายุ การดูแลผู้สูงอายุที่มีปัญหาข้อเข่าเสื่อมทำได้ยากเนื่องจากผู้สูงอายุมีอาการเจ็บปวด จึงไม่ขยับข้อ ไม่ออกกำลังกาย อีกทั้งผู้สูงอายุมีการเผาผลาญพลังงานอาหารต่ำ จึงเป็นข้อจำกัดทางร่างกายตามมา คือ น้ำหนักเกินหรืออ้วนยิ่งทำให้เพิ่มแรงกดต่อข้อเข่ามากขึ้น (สุวรรณี สร้อยสงค์และคณะ 2562)     โรคข้อเสื่อม (osteoarthritis) เป็นโรคที่พบมากที่สุดเมื่อเทียบกับโรคข้อเสื่อมอื่น ๆ ความรุนแรงของโรคข้อเข่าเสื่อมนี้จะเป็นแบบค่อยเป็นค่อยไป มีลักษณะทางคลินิกที่สำคัญคือ ปวดข้อ ข้อฝืด มีปุ่มกระดูกงอกบริเวณข้อ การทำงานของข้อเสียไป การเคลื่อนไหวของข้อลดลง หากกระบวนการดำเนินต่อไปจะมีผลทำให้เกิดข้อผิดรูปได้ ปัญหาที่สำคัญที่สุดในโรคข้อเข่าเสื่อมคืออาการปวด และความสามารถในการใช้ข้อทำงานได้ลดลง ดังนั้นการรักษาจึงมีเป้าหมายเพื่อบรรเทาอาการปวด ส่งเสริมให้ข้อสามารถทำงานได้ รวมทั้งป้องกันไม่ให้ข้อถูกทำลายมากขึ้น และช่วยให้ผู้ป่วยสามารถช่วยเหลือตนเองได้ การรักษาโรคข้อเข่าเสื่อมอาจเริ่มต้นจากการรักษาโดยไม่ใช้ยา (non - pharmacological therapy) ซึ่งเป็นการให้ความรู้เกี่ยวกับโรค การดูแลตัวเอง การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการดำเนินชีวิต เพื่อหลีกเลี่ยงสาเหตุของโรครวมทั้งการทำกายภาพบำบัดและเวชศาสตร์ฟื้นฟู การรักษาโดยการใช้ยา (pharmacological therapy) แบ่งได้เป็นกลุ่มยาลดอาการปวด ลดอาการอักเสบของข้อและยากลุ่มที่ออกฤทธิ์เพื่อรักษาภาวะข้อเข่าเสื่อมในระยะยาวและอาจช่วยชะลอความรุนแรงของข้อเข่าเสื่อมได้หากการรักษาดังกล่าวข้างต้นไม่ได้ผลหรือผู้ป่วยมีความรุนแรงของโรคมากขึ้น อาจต้องรักษาโดยการผ่าตัด (นายพิพัฒน์ เพิ่มพูล 2560)     การลดอาการปวดเข่าในผู้ป่วยโรคข้อเข่าเสื่อมมีทั้งแผนปัจจุบัน แผนไทยและแผนทางเลือก ซึ่งในแผนปัจจุบันจะรักษาโดยวิธีการรับประทานยาลดปวดเพื่อบรรเทาอาการปวด แพทย์แผนทางเลือกส่วนมากจะใช้วิธีฝังเข็ม
ซึ่งสามารถลดปวดได้เช่นกัน และแพทย์แผนไทยจะใช้วิธีการประคบและพอกเข่าเพื่อลดอาการปวด ซึ่งเป็นวิธีที่สามารถทำได้ จากการนำสมุนไพรที่มีอยู่ในท้องถิ่นมาปรับเปลี่ยน ผสมสมุนไพรให้เป็นตำรับยาพอกเข่า (กรุณา เจริญนวรัตน์. 2564)     ในปี 2565 จังหวัดตรังมีประชากรทั้งหมด 639,788 คน มีผู้สูงอายุจำนวน 158,271 คน คิดเป็นร้อยละ 24.73 ของประชากรทั้งหมด และในอำเภอย่านตาขาวมีประชากรทั้งหมด 64,373 คน มีผู้สูงอายุจำนวน 14,069 คน คิดเป็นร้อยละ 21.85 (HDC สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดตรัง) อำเภอย่านตาขาว มีสัดส่วนของประชากรผู้สูงอายุมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น มีภาวะของข้อเสื่อมเพิ่มมากขึ้น โดยข้อที่เสื่อมมากที่สุด คือ ข้อเข่า เนื่องจากข้อเข่าเป็นข้อที่มีขนาดใหญ่และต้องรับน้ำหนักของร่างกายโดยตรง ทั้งยังต้องทำหน้าที่เคลื่อนไหวเกือบตลอดเวลา ทำให้ข้อเสื่อมได้ง่าย จากสถานการณ์ของผู้สูงอายุในอำเภอย่านตาขาว งานแพทย์แผนไทย โรงพยาบาลย่านตาขาว เล็งเห็นถึงความสำคัญในการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุด้านการแพทย์แผนไทย จึงได้จัดทำโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อดูแลสุขภาพผู้สูงอายุข้อเข่าเสื่อมด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย เนื่องจากพบอุบัติการณ์ของโรคกระดูกและข้อเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง เป็นสาเหตุสำคัญอันก่อให้เกิดความทุพพลภาพ มีผลกระทบสูงต่อคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยและครอบครัว และเพื่อสนับสนุนโยบายของรัฐบาล ตอบสนองความต้องการของผู้รับบริการ และเพื่อพัฒนาระบบบริการด้านการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคทางแพทย์แผนไทยให้อยู่ในระดับที่ดีและมีประสิทธิภาพมากขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถตรวจและประเมินอาการข้อเข่าเสื่อมได้
  2. เพื่อส่งเสริมให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจเรื่องยาสมุนไพรพอกเข่าและสามารถผลิตยาสมุนไพรพอกเข่าบรรเทาอาการปวดเข่าได้
  3. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถประยุกต์ความรู้ไปดูแลด้านสุขภาพของตนเองและถ่ายทอดให้คนรอบข้างได้

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมอบรมให้ความรู้ เรื่องภาวะเข่าเสื่อม
  2. กิจกรรมพอกเข่าด้วยสมุนไพร

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ 40
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถตรวจและประเมินอาการข้อเข่าเสื่อมได้
  2. ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจเรื่องยาสมุนไพรพอกเข่าและสามารถผลิตยาสมุนไพรพอกเข่าบรรเทาอาการปวดเข่าได้
  3. ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถประยุกต์ความรู้ไปดูแลด้านสุขภาพของตนเองและถ่ายทอดให้คนรอบข้างได้

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถตรวจและประเมินอาการข้อเข่าเสื่อมได้
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึ่งพอใจ

 

2 เพื่อส่งเสริมให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจเรื่องยาสมุนไพรพอกเข่าและสามารถผลิตยาสมุนไพรพอกเข่าบรรเทาอาการปวดเข่าได้
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจเรื่องยาสมุนไพรพอกเข่าและสามารถผลิตยาสมุนไพรพอกเข่าบรรเทาอาการปวดเข่าได้

 

3 เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถประยุกต์ความรู้ไปดูแลด้านสุขภาพของตนเองและถ่ายทอดให้คนรอบข้างได้
ตัวชี้วัด :

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 40
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ 40
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถตรวจและประเมินอาการข้อเข่าเสื่อมได้ (2) เพื่อส่งเสริมให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจเรื่องยาสมุนไพรพอกเข่าและสามารถผลิตยาสมุนไพรพอกเข่าบรรเทาอาการปวดเข่าได้ (3) เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถประยุกต์ความรู้ไปดูแลด้านสุขภาพของตนเองและถ่ายทอดให้คนรอบข้างได้

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมอบรมให้ความรู้ เรื่องภาวะเข่าเสื่อม (2) กิจกรรมพอกเข่าด้วยสมุนไพร

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการเข่าดี ก้าวไปด้วยกัน (ด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย) จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 67-L8291-1-04

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางเพ็ญบุญญา พานิช ตำแหน่งนายแพทย์ชำนาญการ (ด้านเวชกรรม)รักษาการในตำแหน่ง ผู้อำนวยการโรงพยาบาลย่านตาขาว )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด