กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโตนดด้วน


“ โครงการผู้สูงอายุสุขภาพดี ชีวีมีสุข ”

ตำบลโตนดด้วน อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นายวรจิต สายแก้ว

ชื่อโครงการ โครงการผู้สูงอายุสุขภาพดี ชีวีมีสุข

ที่อยู่ ตำบลโตนดด้วน อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 67-L3318-02-4 เลขที่ข้อตกลง 11/2567

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กุมภาพันธ์ 2567 ถึง 30 กันยายน 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการผู้สูงอายุสุขภาพดี ชีวีมีสุข จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลโตนดด้วน อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโตนดด้วน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการผู้สูงอายุสุขภาพดี ชีวีมีสุข



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการผู้สูงอายุสุขภาพดี ชีวีมีสุข " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลโตนดด้วน อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 67-L3318-02-4 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กุมภาพันธ์ 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 39,868.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโตนดด้วน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

สถานการณ์ของผู้สูงอายุในพื้นที่ตำบลโตนดด้วน มีผู้สูงอายุ 60 ขึ้นไป จำนวน 1,595 คน จากจำนวนประชากรทั้งสิ้น 6,166 คน คิดเป็นร้อยละ 25.88 นับได้ว่ากำลังก้าวเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ ปัจจุบันผู้สูงอายุในตำบลโตนดด้วนกำลังเผชิญกับปัญหาด้านสุขภาพ และคุณภาพชีวิต กล่าวคือ 1.สถานการณ์ความเจ็บป่วยของผู้สูงอายุที่สำคัญ เรียงตามลำดับ ดังนี้ 1) โรคเบาหวาน 2)โรคความดันโลหิตสูง 3)โรคหลอดเลือดหัวใจตีบ 4)โรคซึมเศร้า 5)โรคปวดข้อกระดูก ซึ่งเกิดจากการขาดความรู้ในการดูแลสุขภาพ การรับประทานอาหารที่มีโทษ/ไม่มีประโยชน์ต่อร่างกาย และขาดการออกกำลังกายที่เพียงพอและเหมาะสม ที่น่าเป็นห่วงคือ การพบว่าแนวโน้มการเจ็บป่วยเกิดในวัยที่เร็วขึ้น ก่อนถึงอายุ 60 ปี และเพิ่มจำนวนมากขึ้นอย่างต่อเนื่องด้วย
2.การขาดการดูแลด้านสุขภาพจากสมาชิกในครอบครัวและชุมชน พบว่า มีผู้สูงอายุที่ต้องอยู่เพียงลำพัง และอยู่กับคู่สมรสซึ่งเป็นผู้สูงอายุด้วยกัน ผู้สูงอายุต้องอยู่กับบุตรหลานวัยเยาว์ และผู้สูงอายุที่ต้องอยู่ลำพังในช่วงกลางวัน เนื่องจากสมาชิกไปทำงาน/ไปเรียนมากก่วาร้อยละ 70 และจากการขาดความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการให้การดูแลสุขภาพที่ถูกต้องแก่ผู้สูงอายุ และการขาดการปฏิบัติกิจกรรมร่วมกับผู้สูงอายุในครอบครัว โดยน่าสังเกตว่า วัยรุ่นเป็นกลุ่มที่ขาดการปฏิบัติกิจกรรมร่วมกับผู้สูงอายุมากกว่าวัยอื่น ๆ นอกจากนี้ ชุมชนก็ขาดการจัดการด้า่นสิทธิและสวัสดิการเพื่อผู้สูงอายุ ขาดการเยี่ยมเยียนและแบ่งปันกันดังเช่นอดีตที่ผ่านมา ซึ่งทำให้การดำเนินชีวิตในวัยสูงอายุเป็นไปยอ่างยากลำบากมากขึ้น ต้องพึ่งพาตนเอง และกลุ่ม อสม.สูง 3.การขาดการยอมรับและการมีส่วนร่วมกับกิจกรรมของชุมชน ในอดีตผู้สูงอายุจะเป็นแหล่งความรู้แลพภูมิปัญญาของชุมชน เช่นในด้านพืขสมุนไพรท้องถิ่นเป็นประโยชน์มากก่อนที่การสาธารณสุขยังไม่ได้เข้ามาอยู่ในชุมชนปัจจุบันผู้สูงอายุส่วนใหญ่ขาดการยอมรับจากชุมชนเกี่ยวกับการทำการเกษตรอินทรีย์ตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง เนื่องจากหันไปพึ่งพาสารเคมีทางการเกษตร โดยปราศจากความรู้ถึงผลกระทบต่อร่างกาย ในขณะที่การขาดภูมิคุ้มกันทางวัฒนธรรมของเด็ก เยาวชน หันไปยึดติดกับบริโภคนิยม ไม่ค่อยจะให้ความสำคัญกับผู้สูงอายุและบุคคลในครอบครัวซึ่งนำไปสู่การเกิดปัญหาหันไปพึ่งพายาเสพติดหรือการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร ดังนั้นเทศบาลตำบลโตนดด้วน จึงได้จัดทำโครงการผู้สูงอายุสุขภาพดี ชีวีมีสุขขึ้น เพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลโตนดด้วน

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ผู้สูงอายุได้รับการดูแลตามความเหมาะสมมีความรู้ มีทักษะการดูแลสุขภาพร่างกาย และสามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้ดี
  2. เพื่อให้ผู้สูงอายุได้ออกกำลังกายที่เหมาะสม มีสุขภาพกานที่แข็งแรง สุขภาพจิตที่ดี
  3. เพื่อให้ผู้สูงอายุได้บริโภคอาหารที่มีประโยชน์

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. การตรวจคัดกรอง ประเมินภาวะสุขภาพเบื้องต้นและอบรมให้ความรู้ในการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุจำนวน 30 ตน เจ้าหน้าที่ 5 คน
  2. กิจกรรมนันทนากร/ออกกำลังกายสำหรับผู้สูงอายุ
  3. อบรมนวดแผนไทยเพื่อสุขภาพาำหรับผู้สูงอายุ จำนวน 30 คน เจ้าหน้าที่ 5 คน
  4. อบรมการดูแลสุขภาพช่องปาก ผู้สูงอายุ
  5. อบรมการบริโภคอาหารปลอดภัย ส่งเสริมการปลูกผักปลอดสารเคมี
  6. กิจกรรมการ "ปิ่นโตเพื่อสุขภาพ" และฟังบรรยายธรรม

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ 30
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ผู้สูงอายุได้รับการดูแลตามความเหมาะสม มีความรู้ มีทักษะการดูแลสุขภาพร่างกาย และสามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้ดี 2.ผู้สูงอายุและผู้เข้าร่วมกิจกรรม ได้รับการพัฒนาด้านจิตใจ สุขภาพ สังคม 3.ผู้สูงอายุได้ออกกำลังกายที่เหมาะสม รู้สึกมีคุณค่าในตนเอง มีสุขภาพจิตที่ดี


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ผู้สูงอายุได้รับการดูแลตามความเหมาะสมมีความรู้ มีทักษะการดูแลสุขภาพร่างกาย และสามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้ดี
ตัวชี้วัด : ผู้สูงอายุมีความรู้ ความเข้าใจ มีทักษะในการดูแลสุขภาพ
30.00 30.00

 

2 เพื่อให้ผู้สูงอายุได้ออกกำลังกายที่เหมาะสม มีสุขภาพกานที่แข็งแรง สุขภาพจิตที่ดี
ตัวชี้วัด : ผู้สูงอายุมีการออกกำลังกายสม่ำเสมอ
30.00 30.00

 

3 เพื่อให้ผู้สูงอายุได้บริโภคอาหารที่มีประโยชน์
ตัวชี้วัด : ผู้สูงอายุรู็จักเลือกบริโภคอาหารที่มีประโยชน์
30.00 30.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 30
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 0
กลุ่มผู้สูงอายุ 30
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้สูงอายุได้รับการดูแลตามความเหมาะสมมีความรู้ มีทักษะการดูแลสุขภาพร่างกาย และสามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้ดี (2) เพื่อให้ผู้สูงอายุได้ออกกำลังกายที่เหมาะสม มีสุขภาพกานที่แข็งแรง สุขภาพจิตที่ดี (3) เพื่อให้ผู้สูงอายุได้บริโภคอาหารที่มีประโยชน์

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) การตรวจคัดกรอง ประเมินภาวะสุขภาพเบื้องต้นและอบรมให้ความรู้ในการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุจำนวน 30 ตน เจ้าหน้าที่ 5 คน (2) กิจกรรมนันทนากร/ออกกำลังกายสำหรับผู้สูงอายุ (3) อบรมนวดแผนไทยเพื่อสุขภาพาำหรับผู้สูงอายุ จำนวน 30 คน เจ้าหน้าที่ 5 คน (4) อบรมการดูแลสุขภาพช่องปาก ผู้สูงอายุ (5) อบรมการบริโภคอาหารปลอดภัย ส่งเสริมการปลูกผักปลอดสารเคมี (6) กิจกรรมการ "ปิ่นโตเพื่อสุขภาพ" และฟังบรรยายธรรม

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการผู้สูงอายุสุขภาพดี ชีวีมีสุข จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 67-L3318-02-4

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายวรจิต สายแก้ว )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด