กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมสุขภาพและพลานามัยนักเรียน
รหัสโครงการ 67-L5222-2-14
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยงานอื่นๆ ที่ไม่ใช่หน่วยงานสาธารณสุข เช่น โรงเรียน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ โรงเรียนชุมชนวัดบ้านขาว
วันที่อนุมัติ 1 ธันวาคม 2566
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 ธันวาคม 2566 - 30 กันยายน 2567
กำหนดวันส่งรายงาน 30 กันยายน 2567
งบประมาณ 30,950.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางสาวสุภาพร บุญทวี
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลบ้านขาว อำเภอระโนด จังหวัดสงขลา
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานเด็ก เยาวชน ครอบครัว
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 16 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน :

กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 60 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

การเสริมสร้างคุณภาพกับการศึกษา เป็นสิ่งที่จะต้องดำเนินการควบคู่กันไป การพัฒนาเด็กและเยาวชน จึงอยู่ที่กระบวนการศึกษาและการสร้างสุขภาพ ภายใต้ความร่วมมือจากทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง นับตั้งแตระดับครอบครัว โรงเรียน ชุมชนและองค์กรในท้องถิ่น ซึ่งจะต้องมีการประสานความร่วมมือ ประสานประโยชน์ที่เอื้อต่อการพัฒนาเด็กให้มีสุขภาพกาย สุขภาพจิตที่ดี สามารถดำรงชีวิตอยู่ในสังคมอย่างมีความสุขและปลอดภัยโรงเรียนเป็นสถานบันหนึ่งของสังคมมีหน้าที่ให้ความรู้และพัฒนาคนให้มีสุขภาพและศักยภาพที่ดีสามารถดำรงชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข โรงเรียนชุมชนวัดบ้านขาว ได้เล็งเห็นถึงความสำคัญของการมีความสุขที่ดีไม่ว่าสุขภาพทางกาย สุขภาพทางใจ โรงเรียนจึงจัดตั้งโครงการส่งเสริมสุขภาพนักเรียนโดยมีกิจกรรมคือการสร้างสนามเด็กเล่นโดยใช้หลักการเรียนรู้ของสมองเป็นฐาน (Brain-based learning : BBL-Playground) ที่เป็นเครื่องมือสำคัญที่ช่วยในการเสริมสร้างพัฒนาการการเรียนรู้ของสมองได้เป็นอย่างดี โดยกิจกรรมแต่ละฐานล้วนออกแบบให้เกิดการกระตุ้นพัฒนาการของเด็กให้มีทักษะในการคิดและการเรียนรู้อย่างมีเหตุผลโดยสัมพันธ์สอดคล้องกลมกลืนกับความเป็นธรรมชาติและพัฒนาการทางด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคมและสติปัญญาของเด็กในแต่ละวัย

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อส่งเสริมการดูแลสุขภาพร่างกายและการออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ
  • นักเรียนมีการออกกำลังกายโดยใช้สนามเด็กเล่น BBL และมีสมรรถภาพร่างกายผ่านเกณฑ์
0.00
2 เพื่อส่งเสริมพัฒนาการของนักเรียนให้มีทักษะในการคิดและการเรียนรู้
  • นักเรียนมีทักษะในการคิดและการเรียนรู้ผ่านกิจกรรมในแต่ละฐานของสนามเด็กเล่น BBL
0.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 30,950.00 0 0.00
1 ธ.ค. 66 - 30 ก.ย. 67 การสร้างสนามเด็กเล่น BBL 0 30,950.00 -

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.โรงเรียนมีสนามเด็กเล่น BBL ให้นักเรียนระดับอนุบาลถึงระดับประถมศึกษา 2.นักเรียนได้รับการกระตุ้นพัฒนาการของเด็กให้มีทักษะในการคิดและการเรียนรู้ผ่านกิจกรรมในแต่ละฐานของสนามเด็กเล่น BBL

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 25 ธ.ค. 2566 00:00 น.